- ด้านพฤติกรรม (ศีล) คือ
- พฤติกรรมในความสัมพันธ์กับโลกแห่งวัตถุ ได้แก่ การใช้ตา หู จมูก ลิ้น กาย ในการส่งเสริมคุณภาพชีวิต มีประสิทธิ ภาพในการใช้งาน ให้ดูเป็น ฟังเป็น และการบริโภคปัจจัย 4 รวมถึงการใช้ประโยชน์จากวัตถุอุปกรณ์ต่างๆ รวมทั้งเทคโน โลยีด้วยปัญญา มุ่งคุณค่าที่แท้จริง และส่งเสริมการพัฒนาชีวิต เรียกว่า กินเป็น บริโภคเป็น ใช้เป็น
- พฤติกรรมในการสัมพันธ์กับโลกแห่งชีวิต ได้แก่ การอยู่ร่วมสังคม โดยไม่เบียดเบียน ไม่ก่อความเดือดร้อน มีความ สัมพันธ์ที่ดีกับเพื่อนมนุษย์ ช่วยเหลือเกื้อกูลกัน ดำรงตนอยู่ในขอบเขตแห่งศีล 5 รักษากติกาสังคม กฎเกณฑ์ กฎหมาย ระเบียบแบบแผน จรรยาบรรณต่างๆ มีการให้ เผื่อแผ่ แบ่งปัน ช่วยเหลือ ให้ความสุขกับเพื่อนมนุษย์ ส่งเสริมการสร้างสรรค์สิ่งดีงาม
- พฤติกรรมในด้านอาชีพ คือ ทำมาหาเลี้ยงชีพที่เป็นสัมมาชีพ ไม่ก่อความเดือดร้อนแก่ผู้อื่น เป็นอาชีพที่เอื้อต่อการพัฒนาชีวิตของตน ไม่ทำให้เสื่อมจากคุณความดี
- ด้านจิตใจ (สมาธิ) แยกได้ดังนี้
- คุณภาพจิต ได้แก่ คุณธรรมความดีงามต่างๆ เช่น เมตตา กรุณา กตัญญูกตเวที หิริโอตตัปปะ ฯลฯ ซึ่งจะหล่อเลี้ยงจิตใจให้งอกงาม และเป็นพื้นฐานของพฤติกรรมที่ดีงาม
- สมรรถภาพจิต ได้แก่ ความสามารถ เข้มแข็ง มั่นคง มีฉันทะ (ความใฝ่รู้ ใฝ่ดี ใฝ่ทำ) มีความเพียร (วิริยะ) ขยัน (อุตสาหะ) อดทน (ขันติ) มีสติ ควบคุมได้ สงบ มีสมาธิ ไม่ประมาท ทำให้ก้าวหน้ามั่นคงในพฤติกรรมที่ดีงามและพร้อมที่จะใช้ปัญญา
- สุขภาพจิต ได้แก่ สภาพจิตที่ปราศจากความขุ่นมัว เศร้าหมอง เป็นจิตที่สดชื่น ร่าเริง เบิกบาน ผ่อนคลาย ผ่องใส เป็นสุข ซึ่งส่งผลต่อสุขภาพกาย และทำให้พฤติกรรมที่ดีงาม มีความมั่นคง
- ด้านปัญญา (ปัญญา) มีการพัฒนาหลายด้าน หลายระดับ เช่น
- ความรู้ความเข้าใจในการฟัง เล่าเรียน และรับข้อมูลข่าวสารอย่างมีประสิทธิภาพ
- รับรู้ประสบการณ์และเรียนรู้สิ่งต่างๆอย่างถูกต้องตามความเป็นจริง
- คิดพิจารณาอย่างมีวิจารณญาณ ใช้ปัญญา
- รู้จักมอง รู้จักคิด ที่จะให้เข้าถึงความจริง และได้คุณประโยชน์ มีโยนิโสมนสิการ ที่เรียกว่า มองเป็น คิดเป็น
- รู้จักคิดจัดการ ดำเนินการ ทำกิจให้สำเร็จ ฉลาดในวิธีการที่จะนำไปสู่จุดหมาย
- แสวงหา คัดเลือก นำความรู้ที่มีอยู่มาเชื่อมโยงสร้างเป็นความรู้ความคิดใหม่ๆ เพื่อใช้แก้ปัญหาและสร้างสรรค์
- รู้เท่าทันธรรมดาของสิ่งทั้งหลาย รู้แจ้งความจริงของโลกและชีวิต ทำให้วางใจถูกต้องต่อทุกสิ่งทุกอย่าง สามารถแก้ ปัญหาชีวิต ขจัดความทุกข์ในจิตใจของตนได้ หลุดพ้นจากความยึดติดถือมั่นในสิ่งทั้งหลาย ดำเนินชีวิตด้วยปัญญาอย่างแท้ จริง
วันศุกร์ที่ 30 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
วันอังคารที่ 27 พฤศจิกายน พ.ศ. 2561
ระบบอวัยวะ
ดูบทความหลักที่ ระบบอวัยวะ
กลุ่มของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกันเรียกว่า ระบบอวัยวะ (organ system) อวัยวะในระบบเดียวกันอาจมีความสัมพันธ์ร่วมกันได้หลายทาง แต่มักจะมีลักษณะหน้าที่การทำงานเกี่ยวข้องกัน เช่น ระบบขับถ่ายประกอบด้วยอวัยวะหลายอย่างที่ทำหน้าที่ร่วมกันในการผลิต เก็บ และขับปัสสาวะออก
กลุ่มของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกันเรียกว่า ระบบอวัยวะ (organ system) อวัยวะในระบบเดียวกันอาจมีความสัมพันธ์ร่วมกันได้หลายทาง แต่มักจะมีลักษณะหน้าที่การทำงานเกี่ยวข้องกัน เช่น ระบบขับถ่ายประกอบด้วยอวัยวะหลายอย่างที่ทำหน้าที่ร่วมกันในการผลิต เก็บ และขับปัสสาวะออก
หน้าที่ของระบบอวัยวะมักจะมีหน้าที่ทับซ้อนกัน เช่น ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ทั้งในระบบประสาท (nervous system) และระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ทำให้การศึกษาทั้งสองระบบมักจะทำร่วมกันเรียกว่า ระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (neuroendocrine system) เช่นเดียวกันกับ ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (musculoskeletal system) ซึ่งเป็นความเกี่ยวข้องกันระหว่างระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) และ ระบบโครงกระดูก (skeletal system)
รายชื่อระบบอวัยวะหลักๆ ในร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยระบบหลักๆ 11 ระบบ
ระบบทางเดินอาหาร - การดูดซึมสารอาหาร และขับถ่ายกากอาหารออก
ระบบโครงกระดูก - เป็นโครงร่างของร่างกายและการเคลื่อนไหว ผลิตเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์
ระบบกล้ามเนื้อ - เป็นโครงร่างของร่างกายและการเคลื่อนไหว สร้างความร้อน
ระบบประสาท - เป็นศูนย์รวมและประสาทการทำงานโดยสัญญาณทางไฟฟ้าเคมี
ระบบต่อมไร้ท่อ - เป็นศูนย์รวมและประสาทการทำงานโดยฮอร์โมน
ระบบไหลเวียนโลหิต - ขนส่งสารภายในร่างกาย
ระบบหายใจ - กำจัดคาร์บอนไดออกไซด์และดูดซึมแก๊สออกซิเจน
ระบบสืบพันธุ์ - ผลิตลูกหลานเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์
ระบบปกคลุมร่างกาย - ปกคลุมร่างกายภายนอก
ระบบน้ำเหลือง - ควบคุมของเหลวในร่างกาย และทำหน้าที่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ - ขับถ่ายของเสีย และควบคุมสมดุลเกลือแร่
ระบบโครงกระดูก - เป็นโครงร่างของร่างกายและการเคลื่อนไหว ผลิตเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์
ระบบกล้ามเนื้อ - เป็นโครงร่างของร่างกายและการเคลื่อนไหว สร้างความร้อน
ระบบประสาท - เป็นศูนย์รวมและประสาทการทำงานโดยสัญญาณทางไฟฟ้าเคมี
ระบบต่อมไร้ท่อ - เป็นศูนย์รวมและประสาทการทำงานโดยฮอร์โมน
ระบบไหลเวียนโลหิต - ขนส่งสารภายในร่างกาย
ระบบหายใจ - กำจัดคาร์บอนไดออกไซด์และดูดซึมแก๊สออกซิเจน
ระบบสืบพันธุ์ - ผลิตลูกหลานเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์
ระบบปกคลุมร่างกาย - ปกคลุมร่างกายภายนอก
ระบบน้ำเหลือง - ควบคุมของเหลวในร่างกาย และทำหน้าที่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ - ขับถ่ายของเสีย และควบคุมสมดุลเกลือแร่
การวางแผนครอบครัว
ความหมายการวางแผนครอบครัว
การ วางแผนครอบครัว คือ การที่สามีภรรยาวางแผนล่วงหน้าว่าจะมีลูกเมื่อใด มีกี่คน โดยวิธีคุมกำเนิดแบบชั่วคราวไว้ในระยะต้องการเว้นระยะลูกให้ห่างและใช้วิธี คุมกำเนิดแบบถาวร การทำหมันเป็นสิ่งแรกที่เราจะต้องคิดและตกลง กับสามี ภรรยา คิดร่วมกันไม่ใช่คนหนึ่งคนใดคิด หากเราไม่วางแผน เมื่อมีลูกแล้ว เราอาจจะไม่ได้ดูแลเขาอย่างเต็มที่ ชีวิตครอบครัวจะมีปัญหา ถ้าเราวางแผนครอบครัวไม่ดี เราอาจจะมีลูกมากเกินไป เราดูแลไม่เต็มที่ เราจะทำให้ครอบครัวมีความสุขได้อย่างไร หากไม่มีลูกหล่ะ ครอบครัวเราจะเป็นอย่างไร และหากมีลูกคนเดียว จะเพียงพอหรือไม่
ลูกเป็นของขวัญ ไม่ใช่เป็นภาระ หรือห่วงผูกคอ
บางคนมีลูกหัวปี ท้ายปี จนทำให้ไม่มีเวลาในการดูแลเขาได้อย่างดี และสร้างแรงกดดัน ให้กับครอบครัวมากเกินไปและไม่ควรจะปล่อยให้มีลูก โดยที่ เราไม่วางแผน เพราะบางครอบครัว เมื่อไม่วางแผน พอมีลูก อาจจะทำให้รู้สึกขมขื่นเวลาเลี้ยงลูก เพราะสภาพไม่พร้อม เช่น ภรรยาต้องทิ้งหน้าที่การงาน มาเลี้ยงลูก หรือ อายุยังน้อยไม่พร้อมจะเลี้ยงลูก ฯลฯ
แต่ละครอบครัวมีสิ่งที่เอื้ออำนวยเลี้ยงลูกไม่เท่าเทียมกัน ไม่ควรเปรียบเทียบกันกับครอบ ครัวอื่น
ความ จำกัด อาจจะทำให้เราเลี้ยงดูไม่ได้อย่างดีเพียงพอ เราจึงต้องวางแผน ไม่ใช่เลี้ยง ตามยถากรรม จะสร้างปัญหา ให้เกิดขึ้น ทั้งในครอบครัว สังคม ประเทศชาติ
ลูกเป็นของขวัญ ไม่ใช่เป็นภาระ หรือห่วงผูกคอ
บางคนมีลูกหัวปี ท้ายปี จนทำให้ไม่มีเวลาในการดูแลเขาได้อย่างดี และสร้างแรงกดดัน ให้กับครอบครัวมากเกินไปและไม่ควรจะปล่อยให้มีลูก โดยที่ เราไม่วางแผน เพราะบางครอบครัว เมื่อไม่วางแผน พอมีลูก อาจจะทำให้รู้สึกขมขื่นเวลาเลี้ยงลูก เพราะสภาพไม่พร้อม เช่น ภรรยาต้องทิ้งหน้าที่การงาน มาเลี้ยงลูก หรือ อายุยังน้อยไม่พร้อมจะเลี้ยงลูก ฯลฯ
แต่ละครอบครัวมีสิ่งที่เอื้ออำนวยเลี้ยงลูกไม่เท่าเทียมกัน ไม่ควรเปรียบเทียบกันกับครอบ ครัวอื่น
ความ จำกัด อาจจะทำให้เราเลี้ยงดูไม่ได้อย่างดีเพียงพอ เราจึงต้องวางแผน ไม่ใช่เลี้ยง ตามยถากรรม จะสร้างปัญหา ให้เกิดขึ้น ทั้งในครอบครัว สังคม ประเทศชาติ
ตัวอย่าง 4 จังหวะในการเต้นลีลาศที่ควรศึกษา
จังหวะในการเต้นลีลาศที่ควรศึกษา
จังหวะลีลาศทั้ง 4 จังหวะ ได้แก่ จังหวะบีกิน จังหวะชะช่ะช่า จังหวะวอทลซ์ และจังหวะรุมบ้า
ทั้ง4 จังหวะนี้เป็นพื้นฐานของการเต้นในจังหวะอื่นๆ ถ้าสามารถเต้น 4 จังหวะนี้ได้ก็สามารถเต้นจังหวะอื่นๆได้เช่นเดียวกัน
สามารถนำท่าเต้นลีลาศทั้ง 4 จังหวะนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพราะการเข้าสังคมส่วนใหญ่ การเต้นลีลาศก็จะเป็นอีกหน
ทางหนึ่งในการเข้าสังคมได้อย่างมีน่ามีตา แล้วนอกจากนี้ยังทำให้เกิดความสนุกสนานในการเต้นอีกด้วย
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 1 นม ไข่ เนื้อสัตว์ต่างๆ ถั่วเมล็ดแห้งและงา
- นม ไข่ เนื้อสัตว์ต่างๆ ถั่วเมล็ดแห้งและงา เป็นแหล่งโปรตีนที่ดี สามารถนำไปเสริมสร้าง ร่างกายให้เจริญเติบโตและซ่อมแซมเนื้อเยื่อ เสื่อมให้อยู่ในสภาพปกติ
- ในวัยเด็ก จำเป็นอย่างนิ่งที่ต้องได้รับโปรตีนในปริมาณที่เพียงพอ และมีคุณภาพที่ดี
- วัยผู้ใหญ่ ควรเลือกกินโปรตีนที่สามารถย่อยง่ายและมีไขมันต่ำ เช่น เนื้อปลาและเพื่อไม่ให้ ่เบื่ออาหาร ควรกินสลับกับถั่วเมล็ดแห้งบ้าง ทำให้เกิดความหลากหลายในชนิดอาหาร
หมู่ที่ 2 ข้าว แป้ง เผือก มัน น้ำตาล
- ข้าว แป้ง เผือก มัน น้ำตาล มีสารอาหารคาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งอาหารสำคัญที่ให้พลังงาน
- ข้าวกล้องและข้าวซ้อมมือมีใยอาหาร วิตามินและ แร่ธาตุ
- เพื่อให้ร่างกายได้ประโยชน์มากที่สุด ควรกินสลับกับผลิตภัณฑ์จากข้าวและธัญพืชอื่น ที่ให้พลังงานเช่นเดียวกับข้าว ได้แก่ ก๋วยเตี่ยว ขนมจีน บะหมี่ วุ้นเส้น หรือแป้งต่างๆ และไม่ควรกินมากเกินความต้องการเพราะอาหารประเภทนี้ จะถูกเปลี่ยนและเก็บสะสมไว้ในรูปของไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดโรคอ้วน
หมู่ที่ 3 ผักต่างๆ
- อาหารหมู่นี้ จะให้วิตามินและเกลือแร่แก่ร่างกายช่วยเสริมสร้างทำให้ร่างกายแข็งแรงมีแรง ต้านทานเชื้อโรคและช่วยให้อวัยวะต่างๆทำงานได้อย่างเป็นปกติ
- อาหารที่สำคัญของหมู่นี้ คือ ผักต่างๆ เช่น ตำลึง ผักบุ้ง ผักกาดและผักใบเขียวอื่นๆ นอกจากนั้นยังรวมถึง พืชผักอื่นๆ เช่น มะเขือ ฟักทอง ถั่วฝักยาว เป็นต้น
- นอกจากนั้น อาหารหมู่นี้จะมีกากอาหารที่ถูกขับถ่ายออกมาเป็นอุจจาระทำให้ลำไส้้ทำงานเป็นปกติ
หมู่ที่ 4 ผลไม้ต่างๆ
- ผลไม้ต่างๆ จะให้วิตามินและเกลือแร่ ช่วยทำให้ร่างกายแข็งแรง มีแรงต้านทานโรคและมีกากอาหารช่วยทำให้การขับถ่ายของลำไส้เป็นปกติ
- อาหารที่สำคํญ ได้แก่ ผลไม้ต่างๆ เช่น กล้วย มะละกอ ส้ม มังคุด ลำไย เป็นต้น
หมู่ที่ 5 ไขมันและน้ำมัน
- ไขมันและน้ำมัน จะให้สารอาหารประเภทไขมันมาก จะให้พลังงานแก่ร่างกาย ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตร่างกายจะสะสมพลังงานที่ได้ไว้ใต้ผิวหนังตามส่วน ต่างๆ ของร่างกาย เช่น บริเวณสะโพก ต้นขา เป็นต้น
- ไขมันที่สะสมไว้เหล่านี้จะให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายและให้พลังงานที่สะสมไว้ใช้ในเวลาที่จำเป็นระยะยาว อาหารที่สำคัญ ได้แก่
- ไขมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันหมู รวมทั้้งไขมันที่แทรกอยู่ในเนื้อสัตว์ต่างๆด้วย
- ไขมันที่ได้จากพืช เข่น กะทิ น้ำมันรำ น้ำนมถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม เป็นต้น
15 ปัญหาวัยรุ่น
1.การใช้ความรุนแรง ความหมายของคำว่า Violence หรือ ความรุนแรง หมายถึง การกระทำที่มีหรือส่อว่ามี เจตนาที่จะกระทำให้บุคคลอื่นหรือกลุ่มบุคคลอื่นได้รับบาดเจ็บ การบาดเจ็บนี้อาจเนื่องมาจากการทำร้ายร่างกายและจิตใจ ตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ บทบาทของเด็กวัยรุ่นนั้นในความรุนแรงนั้น อาจจะเป็นทั้งผู้กระทำและถูกกระทำ ซึ่งขึ้นอยู่กับโอกาสปัจจัยสิ่งแวดล้อม ฯลฯ จากการศึกษาพบว่าเด็กวัยรุ่นจะตกเป็นผู้ถูกกระทำ(ถูกทำร้าย)เป็น 2 เท่าของผู้ใหญ่ และในปัจจุบันพบว่าเด็กที่ถูกทำร้ายและทำร้ายผู้อื่นจะมีอายุน้อยลงเรื่อยๆ และผู้ชายโดยทั่วไปแล้วจะเป็นทั้งผู้ทำร้ายและผู้ถูกทำร้ายสูงกว่าเด็กผู้หญิง ยกเว้นบางกรณีเรื่องทางเพศ กลุ่มเด็กผู้หญิงจะเป็นผู้ถูกกระทำสูงกว่าเพศชาย และที่น่าสนใจก็คือ เด็กที่ถูกทำร้ายคนที่เป็นผู้กระทำมักจะเป็นคนใกล้ชิดและมักจะเป็นคนในครอบครัว และสาเหตุการตายความรุนแรงในเด็กวัยรุ่นมักจะเป็นสาเหตุจากการใช้อาวุธปืนเป็นสาเหตุอันดับหนึ่ง
สุขบัญญัติ 10 ประการ
สุขบัญญัติ 10 ประการ
๑. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
- อาบน้ำให้สะอาดทุกวัน อย่างน้อยวันละ ๑ ครั้ง
- สระผมอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง
- ตัดเล็บมือเล็บเท้าให้สั้นอยู่เสมอ
๒. รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี
- แปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง เวลาเช้า และก่อนนอน
- เลือกใช้ยาสีฟันและฟลูออไรด์
- หลีกเลี่ยงการกินลูกอม ลูกกวาด ท็อฟฟี่ หรือขนมหวานเหนียว
- เลือกซื้ออาหารสด สะอาด ปลอดสารพิษ โดยคำนึงถึงหลัก ๓ ป คือ ประโยชน์ ปลอดภัย ประหยัด
- ปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และใช้เครื่องปรุงรสที่ถูกต้อง โดยคำนึงถึงหลัก ๓ ส คือ สงวนคุณค่า สุกเสมอ สะอาดปลอดภัย
แบบฝึกการโหม่งบอล
2. รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
3. ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังขับถ่าย
4. กินอาหารสุกสะอาดปราศจากอันตรายและหลีกเลี่ยง อาหารรสจัดสีฉูดฉาด
5. งดบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติดการพนันและการสำส่อนทางเพศ
6. สร้างความสำพันธ์ภายในครอบครัวให้อบอุ่น
7. ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
8. ออกกำลังกายสมำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปี
9. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
10. มีสำนึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม
- อาบน้ำให้สะอาดทุกวัน อย่างน้อยวันละ ๑ ครั้ง
- สระผมอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง
- ตัดเล็บมือเล็บเท้าให้สั้นอยู่เสมอ
๒. รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี
- แปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง เวลาเช้า และก่อนนอน
- เลือกใช้ยาสีฟันและฟลูออไรด์
- หลีกเลี่ยงการกินลูกอม ลูกกวาด ท็อฟฟี่ หรือขนมหวานเหนียว
๓. ล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหารและหลังการขับถ่าย
- ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งก่อนและหลังการเตรียม ปรุง และรับประทานอาหาร
- ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งหลังการขับถ่าย
๔. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด- ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งก่อนและหลังการเตรียม ปรุง และรับประทานอาหาร
- ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งหลังการขับถ่าย
- เลือกซื้ออาหารสด สะอาด ปลอดสารพิษ โดยคำนึงถึงหลัก ๓ ป คือ ประโยชน์ ปลอดภัย ประหยัด
- ปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และใช้เครื่องปรุงรสที่ถูกต้อง โดยคำนึงถึงหลัก ๓ ส คือ สงวนคุณค่า สุกเสมอ สะอาดปลอดภัย
๕. งดสูบบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติด การพนัน และการสำส่อนทางเพศ
- งดสูบบุหรี่
- งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทุกชนิด
- ไม่เสพสารเสพย์ติดทุกประเภท
- งดเล่นการพนันทุกชนิด
- งดการสำส่อนทางเพศ
- งดสูบบุหรี่
- งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทุกชนิด
- ไม่เสพสารเสพย์ติดทุกประเภท
- งดเล่นการพนันทุกชนิด
- งดการสำส่อนทางเพศ
๖. สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
- ทุกคนในครอบครัว ช่วยกันทำงานบ้าน
- ปรึกษาหารือ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- เผื่อแผ่น้ำใจให้กันและกัน
- ทำบุญ และได้ทำกิจกรรมสนุกสนานร่วมกัน
- ทุกคนในครอบครัว ช่วยกันทำงานบ้าน
- ปรึกษาหารือ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- เผื่อแผ่น้ำใจให้กันและกัน
- ทำบุญ และได้ทำกิจกรรมสนุกสนานร่วมกัน
๗. ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
- ระมัดระวังในการป้องกันอุบัติภัยภายในบ้าน เช่น ไฟฟ้า เตาแก๊ส ของมีคม จุดธูปเทียนบูชาพระ และไม้ขีดไฟ เป็นต้น
- ระมัดระวังในการป้องกันอุบัติภัยในที่สาธารณะ เช่น ปฏิบัติตามกฏแห่งความปลอดภัยจากการจราจรทางบก ทางน้ำ ป้องกันอันตรายจากโรงฝึกงาน ห้องปฏิบัติการ เขตก่อสร้าง หลีกเลี่ยงการชุมนุมห้อมล้อม ในขณะเกิดอุบัติภัย
- ระมัดระวังในการป้องกันอุบัติภัยภายในบ้าน เช่น ไฟฟ้า เตาแก๊ส ของมีคม จุดธูปเทียนบูชาพระ และไม้ขีดไฟ เป็นต้น
- ระมัดระวังในการป้องกันอุบัติภัยในที่สาธารณะ เช่น ปฏิบัติตามกฏแห่งความปลอดภัยจากการจราจรทางบก ทางน้ำ ป้องกันอันตรายจากโรงฝึกงาน ห้องปฏิบัติการ เขตก่อสร้าง หลีกเลี่ยงการชุมนุมห้อมล้อม ในขณะเกิดอุบัติภัย
๘. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และตรวจสุขภาพประจำปี
- ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ ครั้ง
- ออกกำลังกายและเล่นกีฬาให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายและวัย
- ตรวจสุขภาพประจำปี
- ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ ครั้ง
- ออกกำลังกายและเล่นกีฬาให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายและวัย
- ตรวจสุขภาพประจำปี
๙. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
- พักผ่อนและนอนหลับให้เพียงพอ
- จัดสิ่งแวดล้อมทั้งในบ้าน และที่ทำงานให้น่าอยู่ หรือน่าทำงาน
- มองโลกในแง่ดี ให้อภัย และยอมรับในข้อบกพร่องของคนอื่น
- เมื่อมีปัญหาไม่สบายใจ ควรหาทางผ่อนคลาย
- พักผ่อนและนอนหลับให้เพียงพอ
- จัดสิ่งแวดล้อมทั้งในบ้าน และที่ทำงานให้น่าอยู่ หรือน่าทำงาน
- มองโลกในแง่ดี ให้อภัย และยอมรับในข้อบกพร่องของคนอื่น
- เมื่อมีปัญหาไม่สบายใจ ควรหาทางผ่อนคลาย
๑๐. มีสำนึกต่อส่วนรวมร่วมสร้างสรรค์สังคม
- มีการกำจัดขยะในบ้าน และทิ้งขยะในที่รองรับ
- หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม เช่น โฟม พลาสติก สเปรย์ เป็นต้น
- มีและใช้ส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
- มีการกำจัดน้ำทิ้งในครัวเรือนและโรงเรียนด้วยวิธีที่ถูกต้อง
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
- อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม เช่น ชุมชน ป่า น้ำ และสัตว์ป่า เป็นต้น
- มีการกำจัดขยะในบ้าน และทิ้งขยะในที่รองรับ
- หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม เช่น โฟม พลาสติก สเปรย์ เป็นต้น
- มีและใช้ส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
- มีการกำจัดน้ำทิ้งในครัวเรือนและโรงเรียนด้วยวิธีที่ถูกต้อง
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
- อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม เช่น ชุมชน ป่า น้ำ และสัตว์ป่า เป็นต้น
กฏหมายคุ้มครองผู้บริโภค
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของไทยในปัจจุบันมีจำนวนหลายฉบับ ซึ่งกฎหมายแต่ละฉบับมีอำนาจและหน้าที่ในการให้ความคุ้มครองผู้บริโภคที่แตก ต่างกัน โดยมีหน่วยงานราชการทำหน้าที่ในการบังคับใช้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ซึ่งหน่วยงานราชการดังกล่าวกระจายอยู่ตามกระทรวงต่าง ๆ โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทแบบฝึกการโหม่งบอล
แบบฝึกทักษะพื้นฐานการเล่นฟุตบอล
( 1 ) ชื่อเรื่อง การโหม่งลูกฟุตบอล
( 2 ) สาระสำคัญ การโหม่งลูกฟุตบอล เป็นทักษะหนึ่งในการเล่นฟุตบอล ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งการส่งลูก การหยุดลูก
การยิงประตู หรือสกัดกั้น โดยการกระโดดโหม่งกับฝ่ายตรงข้าม
( 3 ) วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนรู้และสามารถโหม่งลูกฟุตบอลแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
( 4 ) เป้าหมาย นักเรียนทุกคนสามารถโหม่งลูกฟุตบอลแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
( 5 ) การประเมินผลก่อนฝึก ทดสอบความสามารถปฏิบัติการโหม่งลูกฟุตบอลตกลงในวงกลมที่กำหนด
( 6 ) คำชี้แจง 1. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง การโหม่งลูกฟุตบอล
2. ครู นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปและสาธิตการโหม่งลูกฟุตบอลแบบต่างๆ
3. ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการโหม่งลูกฟุตบอล ตามลำดับขั้นตอน
2. ครู นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปและสาธิตการโหม่งลูกฟุตบอลแบบต่างๆ
3. ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการโหม่งลูกฟุตบอล ตามลำดับขั้นตอน
สุขบัญญัติ 10 ประการ
สุขบัญญัติิ คือ ข้อกำหนดที่เด็กและเยาวชนตลอดจนประชาชน ทั่วไปพึงปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอจนเป็นสุขนิสัยเพื่อให้มีสุขภาพดี ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคมดังนั้น การส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ ิจึงเป็นกลวิธีหนึ่งในการสร้างเสริมและปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค์ เพื่อให้เยาวชน และประชาชนปฏิบัติ..เพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพดี 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด2. รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
3. ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังขับถ่าย
4. กินอาหารสุกสะอาดปราศจากอันตรายและหลีกเลี่ยง อาหารรสจัดสีฉูดฉาด
5. งดบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติดการพนันและการสำส่อนทางเพศ
6. สร้างความสำพันธ์ภายในครอบครัวให้อบอุ่น
7. ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
8. ออกกำลังกายสมำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปี
9. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
10. มีสำนึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม
ประวัติศาสตร์
ศึกษา วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์ ตัวอย่างการใช้เวลา (ทั้งระบบสุริยคติและจันทรคติ) ช่วงเวลา (เช่น ทศวรรษ ศตวรรษ สหัสวรรษ) และยุคสมัยที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย (สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์) ศึกษาที่มาของศักราช ตัวอย่างการใช้ศักราช และวิธีการเทียบศักราชตามระบบต่าง ๆ ที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย ได้แก่ พ.ศ. / ค.ศ. / จ.ศ. / ม.ศ. / ร.ศ. โดยใช้ทักษะของการสังเกต การสำรวจ การคำนวณ การเปรียบเทียบ ทั้งนี้เพื่อให้เข้าใจเหตุการณ์สำคัญทางประวัติศาสตร์ (ว่ามีเรื่องใด เกิดขึ้นเมื่อไร ที่ไหน เหตุการณ์ใดเกิดก่อน เหตุการณ์ใดเกิดหลัง เหตุการณ์ใดเป็นเหตุ เหตุการณ์ใดเป็นผล และทำไมจึงเกิดเหตุการณ์นั้นขึ้น) เข้าใจความสัมพันธ์และความสำคัญของอดีตที่มีต่อปัจจุบันและอนาคต
ศึกษาความหมาย ความสำคัญของประวัติศาสตร์และวิธีการทางประวัติศาสตร์ นำวิธีการทางประวัติศาสตร์สืบค้นเรื่องราวทางประวัติศาสตร์ไทยที่มีอู่ในท้องถิ่นตนเอง (สมัยใดก็ได้เช่นสมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี สมัยรัตนโกสินทร์) ตัวอย่างการวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทยสมัยสุโขทัย ทั้งหลักฐานชั้นต้น และหลักฐานชั้นรอง โดยใช้ทักษะการวิเคราะห์ การตีความ การแยกแยะ การวินิจฉัย การสร้างความรู้ใหม่ การให้เหตุผล การสำรวจ การรวบรวมข้อมูล ทั้งนี้เพื่อให้เข้าใจและเห็นความสำคัญของประวัติศาสตร์ในการดำเนินชีวิต สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์สืบค้นเรื่องราวในท้องถิ่นของตนเอง (ความรู้ใหม่ที่ตนสืบค้นได้) และข้อเท็จจริงเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยในสมัยสุโขทัยจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ศึกษาเรื่องราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัย ในดินแดนไทยโดยสังเขป ตั้งแต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ เกี่ยวกับรัฐโบราณในดินแดนไทย เช่น ฟูนัน ศรีวิชัย ตามพรลิงค์ ทวารวดี รัฐไทยในดินแดนไทยในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18 เช่น ละโว้ หริภุญชัย นครศรีธรรมราช และพัฒนาการของรัฐไทยในสมัยสุโขทัยในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับการสถาปนาอาณาจักร ปัจจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทั้งปัจจัยภายในและภายนอก พัฒนาการด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทั้งความเสื่อมของอาณาจักรสุโขทัย ศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย ได้แก่ ภาษา วรรณกรรม ประเพณี ศิลปกรรม ประเพณี ศิลปกรรม การชลประทาน เครื่องสังคโลก ประวัติและผลงานของบุคคลสำคัญ อิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาสมัยสุโขทัยที่มีต่อสังคมไทยในปัจจุบัน โดยใช้ทักษะการรวบรวมหลักฐาน การตรวจสอบข้อเท็จจริง การวิเคราะห์ การวิพากษ์ข้อมูล การตีความ การใช้เหตุผล การสังเคราะห์ การนำเสนอด้วยวิธีการต่าง ๆ (เช่นการทำผังความคิด การจัดนิทรรศการ) ทั้งนี้เพื่อให้เข้าใจความเป็นมาของชาติไทย เห็นแบบอย่างการกระทำความดีของบรรพบุรุษที่ได้ปกป้องชาติด้วยความเสียสละ เกิดความรัก ความภูมิใจในชาติ วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย
ศึกษาปัจจัยทางภูมิศาสตร์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทั้งพัฒนาการทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครองของประเทศต่าง ๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และความร่วมมือของประเทศสมาชิกในการรวบรวมกลุ่มเป็นสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (อาเซียน) ศึกษาความสำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับการยกย่องเป็นมรดกโลกทางวัฒนธรรม อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดินแดนไทยที่มีต่อพัฒนาการของสังคมไทยในปัจจุบัน โดยใช้ทักษะการรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ข้อมูล ทั้งนี้เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติที่มีความเปลี่ยนแปลงจากอดีตจนถึงปัจจุบัน และผลกระทบที่มีต่อสังคมไทย เข้าใจ และอยู่ร่วมกันในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้อย่างมีประสิทธิภาพ
ภาษาไทย
1.การสร้างคำโดยใช้คำมูล คำประสม คำสมาส คำสนธิ คำซ้ำ และคำซ้อน
การสร้างคำในภาษาไทย
คำที่ใช้ในภาษาไทยดั้งเดิม ส่วนมากจะเป็นคำพยางค์เดียว เช่น พี่น้อง เดือนดาว จอบไถ หมูหมา กิน นอน ดี ชั่ว สอง สาม เป็นต้น เมื่อโลกวิวัฒนาการ มีสิ่งแปลกใหม่เพิ่มขึ้น ภาษาไทยก็จะต้องพัฒนาทั้งรูปคำและการเพิ่มจำนวนคำ เพื่อให้มีคำใช้ในการสื่อสารให้เพียงพอ กับการเปลี่ยนแปลงของวัตถุสิ่งของและเหตุการณ์ต่าง ๆ ด้วยการสร้างคำ ยืมคำและเปลี่ยนแปลงรูปคำซึ่งจะมีรายละเอียดดังนี้แบบสร้างคำ
แบบสร้างคำ คือ วิธีการนำอักษรมาประสมเป็นคำเกิดความหมายและเสียงของแต่ละ พยางค์ ใน ๑ คำ จะต้องมีส่วนประกอบ ๓ ส่วน เป็นอย่างน้อย คือ สระ พยัญชนะและวรรณยุกต์ อย่างมากไม่เกิน ๕ ส่วน คือ สระ พยัญชนะ วรรณยุกต์ ตัวสะกด ตัวการันต์
รูปแบบของคำ
คำไทยที่ใช้อยู่ปัจจุบันมีทั้งคำที่เป็นคำไทยดั้งเดิม คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ คำศัพท์เฉพาะทางวิชาการคำที่ใช้เฉพาะในภาษาพูด คำชนิดต่าง ๆ เหล่านี้มีชื่อเรียกตามลักษณะ และแบบสร้างของคำ เช่น คำมูล คำประสม คำสมาส คำสนธิ คำพ้องรูป คำพ้องเสียง คำเหล่านี้มีลักษณะพิเศษเฉพาะ ผู้เรียนจะเข้าใจลักษณะแตกต่างของคำเหล่านี้ได้จากแบบสร้างของคำ
ความหมายและแบบสร้างของคำชนิดต่าง ๆ
1. คำมูล
คำมูล คือ คำ ๆ เดียวที่มิได้ประสมกับคำอื่น อาจมี ๑ พยางค์ หรือหลายพยางค์ก็ได้ แต่่เมื่อแยกพยางค์แล้วแต่ละพยางค์ไม่มีความหมาย คำภาษาไทยที่ใช้มาแต่เดิมส่วนใหญ่ เป็นคำมูลที่มีพยางค์เดียวโดด ๆ เช่น พ่อ แม่ กิน เดิน
คำไทยที่ใช้อยู่ปัจจุบันมีทั้งคำที่เป็นคำไทยดั้งเดิม คำที่มาจากภาษาต่างประเทศ คำศัพท์เฉพาะทางวิชาการคำที่ใช้เฉพาะในภาษาพูด คำชนิดต่าง ๆ เหล่านี้มีชื่อเรียกตามลักษณะ และแบบสร้างของคำ เช่น คำมูล คำประสม คำสมาส คำสนธิ คำพ้องรูป คำพ้องเสียง คำเหล่านี้มีลักษณะพิเศษเฉพาะ ผู้เรียนจะเข้าใจลักษณะแตกต่างของคำเหล่านี้ได้จากแบบสร้างของคำ
ความหมายและแบบสร้างของคำชนิดต่าง ๆ
1. คำมูล
คำมูล คือ คำ ๆ เดียวที่มิได้ประสมกับคำอื่น อาจมี ๑ พยางค์ หรือหลายพยางค์ก็ได้ แต่่เมื่อแยกพยางค์แล้วแต่ละพยางค์ไม่มีความหมาย คำภาษาไทยที่ใช้มาแต่เดิมส่วนใหญ่ เป็นคำมูลที่มีพยางค์เดียวโดด ๆ เช่น พ่อ แม่ กิน เดิน
ตัวอย่างแบบสร้างของคำมูล
จากตัวอย่างแบบสร้างของคำมูล จะเห็นว่าเมื่อแยกพยางค์จากคำแล้ว แต่ละพยางค์ไม่มีความหมายในตัวหรืออาจมีความหมายไม่ครบทุกพยางค์ คำเหล่านี้จะมีความหมายก็ต่อเมื่อนำทุกพยางค์มารวมเป็นคำ ลักษณะเช่นนี้ ถือว่าเป็นคำเดียว
คน | มี ๑ พยางค์ คือ คน |
สิงโต | มี ๒ พยางค์ คือ สิง + โต |
นาฬิกา | มี ๓ พยางค์ คือ นา + ฬิ + กา |
ทะมัดทะแมง | มี ๔ พยางค์ คือ ทะ + มัด + ทะ + แมง |
กระเหี้ยนกระหือรือ | มี ๕ พยางค์ คือ กระ + เหี้ยน + กระ + หือ + รือ |
โดด ๆ
2. คำประสม
คำประสม คือ คำที่สร้างขึ้นใหม่โดยนำคำมูลตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประสมกัน เกิดเป็นคำใหม่ขึ้นอีกคำหนึ่ง
๑. เกิดความหมายใหม่
๒. ความหมายคงเดิม
๓. ให้ความหมายกระชับขึ้น
2. คำประสม
คำประสม คือ คำที่สร้างขึ้นใหม่โดยนำคำมูลตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประสมกัน เกิดเป็นคำใหม่ขึ้นอีกคำหนึ่ง
๑. เกิดความหมายใหม่
๒. ความหมายคงเดิม
๓. ให้ความหมายกระชับขึ้น
ตัวอย่างแบบสร้างคำประสม
จากตัวอย่างแบบสร้างคำประสม จะเห็นว่าเมื่อแยกคำประสมออกจากกัน จะได้คำมูลซึ่งแต่ละคำมีความหมายในตัวเอง
แม่ยาย | เกิดจากคำมูล ๒ คำ คือ แม่ + ยาย |
ลูกน้ำ | เกิดจากคำมูล ๒ คำ คือ ลูก + น้ำ |
ภาพยนตร์จีน | เกิดจากคำมูล ๒ คำ คือ ภาพยนตร์ + จีน |
ชนิดของคำประสม
การนำคำมูลมาประสมกัน เพื่อให้เกิดคำใหม่ขึ้นเรียกว่า “คำประสม” นั้น มีวิธีสร้างคำตามแบบสร้าง อยู่ ๕ วิธีด้วยกัน คือ
การนำคำมูลมาประสมกัน เพื่อให้เกิดคำใหม่ขึ้นเรียกว่า “คำประสม” นั้น มีวิธีสร้างคำตามแบบสร้าง อยู่ ๕ วิธีด้วยกัน คือ
๑.คำประสมที่เกิดจากคำมูลที่มีรูป เสียง และความหมายต่างกัน เมื่อประสมกันเกิดเป็นความหมายใหม่ ไม่ตรงกับความหมายเดิม เช่น
คำประสมชนิดนี้มีมากมาย เช่น แม่ครัว ลูกเรือ พ่อตา มือลิง ลูกน้ำ ลูกน้อง ปากกา
แม่ | หมายถึง | หญิงที่ให้กำเนิดลูก |
ยาย | หมายถึง | แม่ของแม่ |
แม่ + ยาย ได้คำใหม่ คือ แม่ยาย | หมายถึง | แม่ของเมีย |
๒.คำประสมที่เกิดจากคำมูลที่มีรูป เสียง และความหมายต่างกัน เมื่อประสมกันแล้วเกิด ความหมายใหม่แต่ยังคงรักษาความหมายของคำเดิมแต่ละคำได้ เช่น
๓.คำประสมที่เกิดจากคำมูลที่มีรูป เสียง ความหมายเหมือนกัน เมื่อประสมแล้วเกิดความหมายต่างจากความหมายเดิมเล็กน้อย อาจมีความหมายทางเพิ่มขึ้นหรือลดลงก็ได้ การเขียนคำประสมแบบนี้จะใช้ ไม้ยมก (ๆ) เติมข้างหลัง เช่น
๔.คำประสมที่เกิดจากคำมูลที่มีรูปและเสียงต่างกัน แต่มีความหมายเหมือนกัน เมื่อนำมาประสมกันแล้วความหมายไม่เปลี่ยนไปจากเดิม เช่น
๕.คำประสมที่เกิดจากคำมูลที่มีรูป เสียง และความหมายต่างกัน เมื่อนำมาประสมจะตัดพยางค์หรือย่นพยางค์ให้สั้นเข้า เช่น
หมอ | หมายถึง | ผู้รู้ ผู้ชำนาญ ผู้รักษาโรค |
ดู | หมายถึง | ใช้สายตาเพื่อให้เห็น |
หมอ + ดู ได้คำใหม่ คือ หมอดู | หมายถึง | ผู้ทำนายโชคชะตาราศี คำประสมชนิดนี้ |
เช่น หมอความ นักเรียน ชาวนา ของกิน ช่างแท่น ร้อนใจ เป็นต้น |
เร็ว | หมายถึง | รีบ ด่วน |
เร็ว ๆ | หมายถึง | รีบ ด่วนยิ่งขึ้น เป็นความหมายที่เพิ่มขึ้น |
ดำ | หมายถึง | สีดำ |
ดำ ๆ | หมายถึง | ดำไม่สนิท เป็นความหมายในทางลดลง คำประสมชนิดนี้ เช่น |
ช้า ๆ ซ้ำ ๆ ดี ๆ น้อย ๆ ไป ๆ มา ๆ เป็นต้น |
ยิ้ม | หมายถึง | แสดงให้ปรากฏว่าชอบใจ |
แย้ม | หมายถึง | คลี่ เผยอปากแสดงความพอใจ |
ยิ้ม + แย้ม ได้คำใหม่ คือ ยิ้มแย้ม หมายถึง ยิ้มอย่างชื่นบาน คำประสมชนิดนี้มีมากมาย เช่น โกรธเคือง รวดเร็ว แจ่มใส เสื่อสาด บ้านเรือน วัดวาอาราม ถนนหนทาง เป็นต้น |
คำว่า ชันษา มาจากคำว่า ชนม+พรรษา
3. คำสมาส
คำสมาส เป็นวิธีสร้างคำในภาษาบาลีและสันสกฤต โดยนำคำตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประกอบกันคล้ายคำประสม แต่คำที่นำมาประกอบแบบคำสมาสนั้น นำมาประกอบหน้าศัพท์ การแปลคำสมาสจึงแปลจากข้างหลังมาข้างหน้า เช่น
การนำคำมาสมาสกัน อาจเป็นคำบาลีสมาสกับบาลี สันสกฤตสมาสกับสันสกฤต หรือบาลี สมาสกับสันสกฤตก็ได้ในบางครั้ง คำประสมที่เกิดจากคำไทยประสมกับคำบาลีหรือคำสันสกฤตบางคำ มีลักษณะคล้ายคำสมาสเพราะแปลจากข้างหลังมาข้างหน้า เช่น ราชวัง แปลว่า วังของพระราชา อาจจัดว่าเป็นคำสมาสได้ ส่วนคำประสมที่มีความหมายจากข้างหน้าไปข้างหลังและมิได้ทำให้ ความหมาย ผิดแผกแม้คำนั้นประสมกับคำบาลีหรือสันสกฤตก็ถือว่าเป็นคำประสม เช่น มูลค่า ทรัพย์สิน เป็นต้น
ชนม | หมายถึง | การเกิด |
พรรษา | หมายถึง | ปี |
ชนม + พรรษา ได้คำใหม่ คือ ชันษา | หมายถึง | อายุ คำประสมประเภทนี้ ได้แก่ |
เดียงสา | มาจาก | เดียง+ภาษา |
สถาผล | มาจาก | สถาพร+ผล |
เปรมปรีดิ์ | มาจาก | เปรม+ปรีดา |
3. คำสมาส
คำสมาส เป็นวิธีสร้างคำในภาษาบาลีและสันสกฤต โดยนำคำตั้งแต่ ๒ คำขึ้นไปมาประกอบกันคล้ายคำประสม แต่คำที่นำมาประกอบแบบคำสมาสนั้น นำมาประกอบหน้าศัพท์ การแปลคำสมาสจึงแปลจากข้างหลังมาข้างหน้า เช่น
บรม (ยิ่งใหญ่) + ครู | = | บรมครู (ครูผู้ยิ่งใหญ่) |
สุนทร (ไพเราะ) + พจน์ (คำพูด) | = | สุนทรพจน์ (คำพูดที่ไพเราะ) |
การเรียงคำตามแบบสร้างของคำสมาส
๑.ถ้าเป็นคำที่มาจากบาลีและสันสกฤต ให้เรียงบทขยายไว้ข้างหน้า เช่น
อุทกภัย หมายถึง ภัยจากน้ำ
อายุขัย หมายถึง สิ้นอายุ
๒.ถ้าพยางค์ท้ายของคำหน้าประวิสรรชนีย์ ให้ตัดวิสรรชนีย์ออก เช่น
ธุระ สมาสกับ กิจ เป็น ธุรกิจ
พละ สมาสกับ ศึกษา เป็น พลศึกษา
๓.ถ้าพยางค์ท้ายของคำหน้ามีตัวการันต์ให้ตัดการัตน์ออกเมื่อเข้าสมาส เช่น
ทัศน์ สมาสกับ ศึกษา เป็น ทัศนศึกษา
แพทย์ สมาสกับ สมาคม เป็น แพทยสมาคม
๔.ถ้าคำซ้ำความ โดยคำหนึ่งไขความอีกคำหนึ่ง ไม่มีวิธีเรียงคำที่แน่นอน เช่น
นร (คน) สมาสกับ ชน (คน) เป็น นรชน (คน)
วิถี (ทาง) สมาสกับ ทาง (ทาง) เป็น วิถีทาง (ทาง)
คช (ช้าง) สมาสกับ สาร (ช้าง) เป็น คชสาร (ช้าง)
๑.ถ้าเป็นคำที่มาจากบาลีและสันสกฤต ให้เรียงบทขยายไว้ข้างหน้า เช่น
อุทกภัย หมายถึง ภัยจากน้ำ
อายุขัย หมายถึง สิ้นอายุ
๒.ถ้าพยางค์ท้ายของคำหน้าประวิสรรชนีย์ ให้ตัดวิสรรชนีย์ออก เช่น
ธุระ สมาสกับ กิจ เป็น ธุรกิจ
พละ สมาสกับ ศึกษา เป็น พลศึกษา
๓.ถ้าพยางค์ท้ายของคำหน้ามีตัวการันต์ให้ตัดการัตน์ออกเมื่อเข้าสมาส เช่น
ทัศน์ สมาสกับ ศึกษา เป็น ทัศนศึกษา
แพทย์ สมาสกับ สมาคม เป็น แพทยสมาคม
๔.ถ้าคำซ้ำความ โดยคำหนึ่งไขความอีกคำหนึ่ง ไม่มีวิธีเรียงคำที่แน่นอน เช่น
นร (คน) สมาสกับ ชน (คน) เป็น นรชน (คน)
วิถี (ทาง) สมาสกับ ทาง (ทาง) เป็น วิถีทาง (ทาง)
คช (ช้าง) สมาสกับ สาร (ช้าง) เป็น คชสาร (ช้าง)
การอ่านคำสมาส
การอ่านคำสมาสมีหลักอยู่ว่า ถ้าพยางค์ท้ายของคำลงท้ายด้วย สระอะ, อิ, อุ เวลาเข้าสมาสให้อ่านออกเสียง อะ อิ อุ นั้นเพียงครึ่งเสียง เช่น
*ข้อสังเกต
๑.มีคำไทยบางคำ ที่คำแรกมาจากภาษาบาลีสันสกฤต ส่วนคำหลังเป็นคำไทย คำเหล่านี้ ได้แปลความหมายตามกฎเกณฑ์ของคำสมาส แต่อ่านเหมือนกับว่าเป็นคำสมาส ทั้งนี้ เป็นการอ่านตามความนิยม เช่น
๒.โดยปกติการอ่านคำไทยที่มีมากกว่า ๑ พยางค์ มักอ่านตรงตัว เช่น
แต่มีคำไทยบางคำที่เราอ่านออกเสียงตัวสะกดด้วย ทั้งที่เป็นคำไทยมิใช่คำสมาสซึ่งผู้เรียนจะต้องสังเกต เช่น
4. คำสนธิ
การสนธิ คือ การเชื่อมเสียงให้กลมกลืนกันตามหลักไวยกรณ์บาลีสันสกฤต เป็นการเชื่อม อักษรให้ต่อเนื่องกันเพื่อตัดอักษรให้น้อยลง ทำให้คำพูดสละสลวย นำไปใช้ประโยชน์ในการแต่งคำประพันธ์
คำสนธิ เกิดจากการเชื่อมคำในภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น ถ้าคำที่นำมาเชื่อมกัน ไม่ใช่ภาษาบาลีสันสกฤต ไม่ถือว่าเป็นสนธิ เช่น กระยาหาร มาจากคำ กระยา + อาหาร ไม่ใช่สนธิ เพราะ กระยาเป็นคำไทยและถึงแม้ว่าคำที่นำมารวมกันแต่ไม่ได้เชื่อมกัน เป็นเพียงประสมคำเท่านั้น ก็ไม่ถือว่าสนธิ เช่น
แบบสร้างของคำสนธิที่ใช้ในภาษาบาลีและสันสกฤต มีอยู่ ๓ ประเภท คือ
๑. สระสนธิ
๒. พยัญชนะสนธิ
๓. นิคหิตสนธิ
สำหรับการสนธิในภาษาไทย ส่วนมากจะใช้แบบสร้างของสระสนธิ
การอ่านคำสมาสมีหลักอยู่ว่า ถ้าพยางค์ท้ายของคำลงท้ายด้วย สระอะ, อิ, อุ เวลาเข้าสมาสให้อ่านออกเสียง อะ อิ อุ นั้นเพียงครึ่งเสียง เช่น
เกษตร | สมาสกับ | ศาสตร์ | เป็น | เกษตรศาสตร์ | อ่านว่า | กะ-เสด-สาด |
อุทก | สมาสกับ | ภัย | เป็น | อุทกภัย | อ่านว่า | อุ-ทก-กะ-ไพ |
ประวัติ | สมาสกับ | ศาสตร์ | เป็น | ประวัติศาสตร์ | อ่านว่า | ประ-หวัด-ติ-สาด |
ภูมิ | สมาสกับ | ภาค | เป็น | ภูมิภาค | อ่านว่า | พู-มิ-พาก |
เมรุ | สมาสกับ | มาศ | เป็น | เมรุมาศ | อ่านว่า | เม-รุ-มาด |
เชตุ | สมาสกับ | พน | เป็น | เชตุพน | อ่านว่า | เช-ตุ-พน |
๑.มีคำไทยบางคำ ที่คำแรกมาจากภาษาบาลีสันสกฤต ส่วนคำหลังเป็นคำไทย คำเหล่านี้ ได้แปลความหมายตามกฎเกณฑ์ของคำสมาส แต่อ่านเหมือนกับว่าเป็นคำสมาส ทั้งนี้ เป็นการอ่านตามความนิยม เช่น
เทพเจ้า | อ่านว่า | เทพ-พะ-เจ้า |
พลเรือน | อ่านว่า | พล-ละ-เรือน |
กรมวัง | อ่านว่า | กรม-มะ-วัง |
คำเหล่านี้ ผู้เรียนจะสามารถศึกษาพวกกฎเกณฑ์ได้ต่อเมื่อเรียนชั้นสูงขึ้น |
บากบั่น | อ่านว่า | บาก-บั่น |
ลุกลน | อ่านว่า | ลุก-ลน |
ตุ๊กตา | อ่านว่า | ตุ๊ก-กะ-ตา |
จักจั่น | อ่านว่า | จัก-กะ-จั่น |
จั๊กจี้ | อ่านว่า | จั๊ก-กะ-จี้ |
ชักเย่อ | อ่านว่า | ชัก-กะ-เย่อ |
สัปหงก | อ่านว่า | สับ-ปะ-หงก |
4. คำสนธิ
การสนธิ คือ การเชื่อมเสียงให้กลมกลืนกันตามหลักไวยกรณ์บาลีสันสกฤต เป็นการเชื่อม อักษรให้ต่อเนื่องกันเพื่อตัดอักษรให้น้อยลง ทำให้คำพูดสละสลวย นำไปใช้ประโยชน์ในการแต่งคำประพันธ์
คำสนธิ เกิดจากการเชื่อมคำในภาษาบาลีและสันสกฤตเท่านั้น ถ้าคำที่นำมาเชื่อมกัน ไม่ใช่ภาษาบาลีสันสกฤต ไม่ถือว่าเป็นสนธิ เช่น กระยาหาร มาจากคำ กระยา + อาหาร ไม่ใช่สนธิ เพราะ กระยาเป็นคำไทยและถึงแม้ว่าคำที่นำมารวมกันแต่ไม่ได้เชื่อมกัน เป็นเพียงประสมคำเท่านั้น ก็ไม่ถือว่าสนธิ เช่น
ทิชาชาติ | มาจาก | ทีชา + ชาติ |
ทัศนาจร | มาจาก | ทัศนา + จร |
วิทยาศาสตร์ | มาจาก | วิทยา + ศาสตร์ |
๑. สระสนธิ
๒. พยัญชนะสนธิ
๓. นิคหิตสนธิ
สำหรับการสนธิในภาษาไทย ส่วนมากจะใช้แบบสร้างของสระสนธิ
แบบสร้างของคำสนธิที่ใช้ในภาษาไทย
๑.สระสนธิ
การสนธิสระทำได้ ๓ วิธี คือ
๑.๑ ตัดสระพยางค์ท้าย แล้วใช้สระพยางค์หน้าของคำหลังแทน เช่น
๑.๒ ตัดสระพยางค์ท้ายของคำหน้า แล้วใช้สระพยางค์หน้าของคำหลังแต่เปลี่ยนรูป อะ เป็น อา อิ เป็น เอ อุ เป็น อู หรือ โอ ตัวอย่างเช่น
เปลี่ยนรูป อะ เป็นอา
เปลี่ยนรูป อิ เป็น เอ
เปลี่ยนรูป อุ เป็น อู หรือ โอ
๑.๓ เปลี่ยนสระพยางค์ท้ายของคำหน้า อิ อี เป็น ย อุ อู เป็น ว แล้วใช้สระ พยางค์หน้าของคำหลังแทน เช่น
เปลี่ยน อิ อี เป็น ย
เปลี่ยน อุ อู เป็น ว
๒.พยัญชนะสนธิ
พยัญชนะสนธิในภาษาไทยมีน้อย คือเมื่อนำคำ ๒ คำมาสนธิกัน ถ้าหากว่าพยัญชนะ ตัวสุดท้าย ของคำหน้ากับพยัญชนะตัวหน้าของคำหลังเหมือนกัน ให้ตัดพยัญชนะที่เหมือนกัน ออกเสียตัวหนึ่ง เช่น
๓.นิคหิตสนธิ
นิคหิตสนธิในภาษาไทย ใช้วิธีเดียวกับวิธีสนธิในภาษาบาลีและสันสกฤต คือ ให้สังเกตพยัญชนะตัวแรกของคำหลังว่าอยู่ในวรรคใด แล้วแปลงนิคหิตเป็นพยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคนั้น เช่น
ถ้าพยัญชนะตัวแรกของคำหลังเป็นเศษวรรค ให้คงนิคหิต (_ํ ) ตามรูปเดิม อ่านออกเสียง อัง หรือ อัน เช่น
ถ้า สํ สนธิกับคำที่ขึ้นต้นด้วยสระ จะเปลี่ยนนิคหิตเป็น ม เสมอ เช่น
๑.สระสนธิ
การสนธิสระทำได้ ๓ วิธี คือ
๑.๑ ตัดสระพยางค์ท้าย แล้วใช้สระพยางค์หน้าของคำหลังแทน เช่น
มหา | สนธิกับ | อรรณพ | เป็น | มหรรณพ |
นร | สนธิกับ | อินทร์ | เป็น | นรินทร์ |
ปรมะ | สนธิกับ | อินทร์ | เป็น | ปรมินทร์ |
รัตนะ | สนธิกับ | อาภรณ์ | เป็น | รัตนาภรณ์ |
วชิร | สนธิกับ | อาวุธ | เป็น | วชิราวุธ |
ฤทธิ | สนธิกับ | อานุภาพ | เป็น | ฤทธานุภาพ |
มกร | สนธิกับ | อาคม | เป็น | มกราคม |
เปลี่ยนรูป อะ เป็นอา
เทศ | สนธิกับ | อภิบาล | เป็น | เทศาภิบาล |
ราช | สนธิกับ | อธิราช | เป็น | ราชาธิราช |
ประชา | สนธิกับ | อธิปไตย | เป็น | ประชาธิปไตย |
จุฬา | สนธิกับ | อลงกรณ์ | เป็น | จุฬาลงกรณ์ |
นร | สนธิกับ | อิศวร | เป็น | นเรศวร |
ปรม | สนธิกับ | อินทร์ | เป็น | ปรเมนทร์ |
คช | สนธิกับ | อินทร์ | เป็น | คเชนทร์ |
ราช | สนธิกับ | อุปถัมภ์ | เป็น | ราชูปถัมภ์ |
สาธารณะ | สนธิกับ | อุปโภค | เป็น | สาธารณูปโภค |
วิเทศ | สนธิกับ | อุบาย | เป็น | วิเทโศบาย |
สุข | สนธิกับ | อุทัย | เป็น | สุโขทัย |
นย | สนธิกับ | อุบาย | เป็น | นโยบาย |
เปลี่ยน อิ อี เป็น ย
มติ | สนธิกับ | อธิบาย | เป็น | มัตยาธิบาย |
รังสี | สนธิกับ | โอภาส | เป็น | รังสโยภาส, รังสิโยภาส |
สามัคคี | สนธิกับ | อาจารย์ | เป็น | สามัคยาจารย์ |
สินธุ | สนธิกับ | อานนท์ | เป็น | สินธวานนท์ |
จักษุ | สนธิกับ | อาพาธ | เป็น | จักษวาพาธ |
ธนู | สนธิกับ | อาคม | เป็น | ธันวาคม |
พยัญชนะสนธิในภาษาไทยมีน้อย คือเมื่อนำคำ ๒ คำมาสนธิกัน ถ้าหากว่าพยัญชนะ ตัวสุดท้าย ของคำหน้ากับพยัญชนะตัวหน้าของคำหลังเหมือนกัน ให้ตัดพยัญชนะที่เหมือนกัน ออกเสียตัวหนึ่ง เช่น
เทพ | สนธิกับ | พนม | เป็น | เทพนม |
นิวาส | สนธิกับ | สถาน | เป็น | นิวาสถาน |
นิคหิตสนธิในภาษาไทย ใช้วิธีเดียวกับวิธีสนธิในภาษาบาลีและสันสกฤต คือ ให้สังเกตพยัญชนะตัวแรกของคำหลังว่าอยู่ในวรรคใด แล้วแปลงนิคหิตเป็นพยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคนั้น เช่น
สํ | สนธิกับ | กรานต | เป็น | สงกรานต์ |
(ก เป็นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ง) | ||||
สํ | สนธิกับ | คม | เป็น | สังคม |
(ค เป็นพยัญชนะวรรค กะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ง) | ||||
สํ | สนธิกับ | ฐาน | เป็น | สัณฐาน |
(ฐ เป็นพยัญชนะวรรค ตะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ณ) | ||||
สํ | สนธิกับ | ปทาน | เป็น | สัมปทาน |
(ป เป็นพยัญชนะวรรค ปะ พยัญชนะตัวสุดท้ายของวรรคกะ คือ ม) |
สํ | สนธิกับ | วร | เป็น | สังวร |
สํ | สนธิกับ | หรณ์ | เป็น | สังหรณ์ |
สํ | สนธิกับ | โยค | เป็น | สังโยค |
สํ | สนธิกับ | อิทธิ | เป็น | สมิทธิ |
สํ | สนธิกับ | อาคม | เป็น | สมาคม |
สํ | สนธิกับ | อาส | เป็น | สมาส |
สํ | สนธิกับ | อุทัย | เป็น | สมุทัย |
5. คำซ้ำ
คำซ้ำ คือ การสร้างคำด้วยการนำคำที่มีเสียง และความหมายเหมือนกันมาซ้ำกัน เพื่อเปลี่ยน แปลงความหมายของคำนั้นให้แตกต่างไปหลายลักษณะ
๑. ความหมายคงเดิม คือ คำที่ซ้ำกันจะมีความหมายคงเดิม แต่อาจจะให้ความหมายอ่อนลง หรือไม่แน่ใจจะมีความหมายเท่ากับความหมายเดิม เช่น ตอนเย็น ๆ ค่อยมาใหม่นะ รู้สึกจะอยู่แถว ๆ นี้ละ คำว่า เย็น ๆ และ แถว ๆ ดูจะมีความหมาย อ่อนลง
๒. ความหมายเด่นขึ้น เฉพาะเจาะจงขึ้นกว่าความหมายเดิม เช่น สอนเท่าไหร่ ๆ
ก็ไม่จำ พระเอกคนนี้ ล้อหล่อ เป็นต้น
๓. ความหมายแยกเป็นส่วน ๆ แยกจำนวน เช่น กรุณาแจกเป็นคน ๆ ไปนะ จ่ายเป็น
งวด ๆ (ทีละงวด) เป็นต้น
๔. ความหมายบอกจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น เด็ก ๆ ชอบวิ่ง เธอทำอะไร ๆ ก็ดูดีหมด เป็นต้น
๕. ความหมายผิดไปจากเดิม เช่น เรื่องหมู ๆ แบบนี้สบายมาก (เรื่องง่าย) รู้เพียงงู ๆ
ปลา ๆ เท่านั้น (รู้ไม่จริง) เป็นต้น
คำซ้ำ คือ การสร้างคำด้วยการนำคำที่มีเสียง และความหมายเหมือนกันมาซ้ำกัน เพื่อเปลี่ยน แปลงความหมายของคำนั้นให้แตกต่างไปหลายลักษณะ
๑. ความหมายคงเดิม คือ คำที่ซ้ำกันจะมีความหมายคงเดิม แต่อาจจะให้ความหมายอ่อนลง หรือไม่แน่ใจจะมีความหมายเท่ากับความหมายเดิม เช่น ตอนเย็น ๆ ค่อยมาใหม่นะ รู้สึกจะอยู่แถว ๆ นี้ละ คำว่า เย็น ๆ และ แถว ๆ ดูจะมีความหมาย อ่อนลง
๒. ความหมายเด่นขึ้น เฉพาะเจาะจงขึ้นกว่าความหมายเดิม เช่น สอนเท่าไหร่ ๆ
ก็ไม่จำ พระเอกคนนี้ ล้อหล่อ เป็นต้น
๓. ความหมายแยกเป็นส่วน ๆ แยกจำนวน เช่น กรุณาแจกเป็นคน ๆ ไปนะ จ่ายเป็น
งวด ๆ (ทีละงวด) เป็นต้น
๔. ความหมายบอกจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น เด็ก ๆ ชอบวิ่ง เธอทำอะไร ๆ ก็ดูดีหมด เป็นต้น
๕. ความหมายผิดไปจากเดิม เช่น เรื่องหมู ๆ แบบนี้สบายมาก (เรื่องง่าย) รู้เพียงงู ๆ
ปลา ๆ เท่านั้น (รู้ไม่จริง) เป็นต้น
6. คำซ้อน
คำซ้อน คือ คำประสมชนิดหนึ่งที่เกิดจากการนำเอาคำตั้งแต่สองคำขึ้นไปซึ่งมีเสียงต่างกัน แต่มีความหมายเหมือนกันหรือคล้ายคลึงกัน หรือเป็นไปในทำนองเดียวกันมาซ้อนคู่ กัน เช่น เล็กน้อย ใหญ่โต เป็นต้น ปกติคำที่นำมาซ้อนกันนั้น นอกจากจะมีความหมายเหมือนกัน หรือใกล้เคียงกันแล้ว มักจะมีเสียงใกล้เคียงกันด้วย เพื่อให้ออกเสียงง่าย สะดวกปาก คำที่นำ มาซ้อนแล้วทำให้เกิดความหมายนั้นแบ่งเป็น ๒ ลักษณะ คือ
๑. ซ้อนคำแล้วมีความหมายคงเดิม คำซ้อนลักษณะนี้จะนำคำที่มีความหมายเหมือนกันมาซ้อนกัน เพื่อขยายความซึ่งกันและกัน เช่น ข้าทาส รูปร่าง ว่างเปล่า โง่เขลา เป็นต้น
๒. ซ้อนคำแล้วมีความหมายเปลี่ยนแปลงไปจากเดิม
๒.๑ ความหมายเชิงอุปมา คำซ้อนลักษณะนี้จะเป็นคำซ้อนที่คำเดิมมีความหมาย เป็นรูปแบบเมื่อนำมาซ้อนกับความหมายของคำซ้อนนั้นจะเปลี่ยนไปเป็นนามธรรม เช่น
อ่อนหวาน อ่อนมีความหมายว่าไม่แข็ง เช่น ไม้อ่อน หวานมีความหมายว่ารสหวาน เช่น
ขนมหวาน
อ่อนหวาน มีความหมายว่าเรียบร้อย น่ารัก เช่น เธอช่างอ่อนหวานเหลือเกิน หมายถึง กิริยาอาการที่แสดงออกถึงความเรียบร้อยน่ารัก
คำอื่น ๆ เช่น ค้ำจุน เด็ดขาด ยุ่งยาก เป็นต้น
๒.๒ ความหมายกว้างออก คำซ้อนบางคำมีความหมายกว้างออกไม่จำกัดเฉพาะ ความหมายเดิมของคำสองคำที่มาซ้อนกัน เช่น
เจ็บไข้ หมายถึง อาการเจ็บป่วยของโรคต่าง ๆ และคำว่า พี่น้อง ถ้วยชาม ทุบตี ฆ่าฟัน เป็นต้น
๒.๓ ความหมายแคบเข้า คำซ้อนบางคำมีความหมายเด่นอยู่คำใดคำหนึ่ง ซึ่งอาจจะเป็นคำหน้าหรือคำหลังก็ได้
เช่น ความหมายเด่นอยู่คำหน้า ใจดำ หัวหู ปากคอ บ้าบอคอแตก
ความหมายเด่นอยู่คำหลัง หยิบยืม เอร็ดอร่อย น้ำพักน้ำแรง ว่านอนสอนง่าย เป็นต้น
ตัวอย่างคำซ้อน ๒ คำ เช่น บ้านเรือน สวยงาม ข้าวของ เงินทอง มืดค่ำ อดทน เกี่ยวข้อง เย็บเจี๊ยบ ทรัพย์สิน รูปภาพ ควบคุม ป้องกัน ลี้ลับ ซับซ้อน เป็นต้น ตัวอย่างคำซ้อนมากกว่า ๒ คำ เช่น
1.ยากดีมีจน 4.เจ็บไข้ได้ป่วย 7.ข้าวยากหมากแพง เป็นต้น
2.เวียนว่ายตายเกิด 5.ถูกอกถูกใจ
3.จับไม่ได้ไล่ไม่ทัน 6.ฉกชิงวิ่งราว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
กองทัพไทย
ความขัดแย้ง กองทัพไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันได้มีความขัดแย้งมาตลอด ทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค สงครามสยาม-ฝรั่งเศส (1893) เกิดขึ้น...