ระบบอวัยวะ
ดูบทความหลักที่ ระบบอวัยวะ
กลุ่มของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกันเรียกว่า ระบบอวัยวะ (organ system) อวัยวะในระบบเดียวกันอาจมีความสัมพันธ์ร่วมกันได้หลายทาง แต่มักจะมีลักษณะหน้าที่การทำงานเกี่ยวข้องกัน เช่น ระบบขับถ่ายประกอบด้วยอวัยวะหลายอย่างที่ทำหน้าที่ร่วมกันในการผลิต เก็บ และขับปัสสาวะออก
กลุ่มของอวัยวะที่เกี่ยวข้องกันเรียกว่า ระบบอวัยวะ (organ system) อวัยวะในระบบเดียวกันอาจมีความสัมพันธ์ร่วมกันได้หลายทาง แต่มักจะมีลักษณะหน้าที่การทำงานเกี่ยวข้องกัน เช่น ระบบขับถ่ายประกอบด้วยอวัยวะหลายอย่างที่ทำหน้าที่ร่วมกันในการผลิต เก็บ และขับปัสสาวะออก
หน้าที่ของระบบอวัยวะมักจะมีหน้าที่ทับซ้อนกัน เช่น ไฮโปทาลามัส (hypothalamus) เป็นอวัยวะที่ทำหน้าที่ทั้งในระบบประสาท (nervous system) และระบบต่อมไร้ท่อ (endocrine system) ทำให้การศึกษาทั้งสองระบบมักจะทำร่วมกันเรียกว่า ระบบประสาทและต่อมไร้ท่อ (neuroendocrine system) เช่นเดียวกันกับ ระบบกล้ามเนื้อและกระดูก (musculoskeletal system) ซึ่งเป็นความเกี่ยวข้องกันระหว่างระบบกล้ามเนื้อ (muscular system) และ ระบบโครงกระดูก (skeletal system)
รายชื่อระบบอวัยวะหลักๆ ในร่างกายมนุษย์
ร่างกายมนุษย์ประกอบด้วยระบบหลักๆ 11 ระบบ
ระบบทางเดินอาหาร - การดูดซึมสารอาหาร และขับถ่ายกากอาหารออก
ระบบโครงกระดูก - เป็นโครงร่างของร่างกายและการเคลื่อนไหว ผลิตเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์
ระบบกล้ามเนื้อ - เป็นโครงร่างของร่างกายและการเคลื่อนไหว สร้างความร้อน
ระบบประสาท - เป็นศูนย์รวมและประสาทการทำงานโดยสัญญาณทางไฟฟ้าเคมี
ระบบต่อมไร้ท่อ - เป็นศูนย์รวมและประสาทการทำงานโดยฮอร์โมน
ระบบไหลเวียนโลหิต - ขนส่งสารภายในร่างกาย
ระบบหายใจ - กำจัดคาร์บอนไดออกไซด์และดูดซึมแก๊สออกซิเจน
ระบบสืบพันธุ์ - ผลิตลูกหลานเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์
ระบบปกคลุมร่างกาย - ปกคลุมร่างกายภายนอก
ระบบน้ำเหลือง - ควบคุมของเหลวในร่างกาย และทำหน้าที่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ - ขับถ่ายของเสีย และควบคุมสมดุลเกลือแร่
ระบบโครงกระดูก - เป็นโครงร่างของร่างกายและการเคลื่อนไหว ผลิตเม็ดเลือดขาวชนิดลิมโฟไซต์
ระบบกล้ามเนื้อ - เป็นโครงร่างของร่างกายและการเคลื่อนไหว สร้างความร้อน
ระบบประสาท - เป็นศูนย์รวมและประสาทการทำงานโดยสัญญาณทางไฟฟ้าเคมี
ระบบต่อมไร้ท่อ - เป็นศูนย์รวมและประสาทการทำงานโดยฮอร์โมน
ระบบไหลเวียนโลหิต - ขนส่งสารภายในร่างกาย
ระบบหายใจ - กำจัดคาร์บอนไดออกไซด์และดูดซึมแก๊สออกซิเจน
ระบบสืบพันธุ์ - ผลิตลูกหลานเพื่อดำรงเผ่าพันธุ์
ระบบปกคลุมร่างกาย - ปกคลุมร่างกายภายนอก
ระบบน้ำเหลือง - ควบคุมของเหลวในร่างกาย และทำหน้าที่เกี่ยวกับระบบภูมิคุ้มกัน
ระบบขับถ่ายปัสสาวะ - ขับถ่ายของเสีย และควบคุมสมดุลเกลือแร่
การวางแผนครอบครัว
ความหมายการวางแผนครอบครัว
การ วางแผนครอบครัว คือ การที่สามีภรรยาวางแผนล่วงหน้าว่าจะมีลูกเมื่อใด มีกี่คน โดยวิธีคุมกำเนิดแบบชั่วคราวไว้ในระยะต้องการเว้นระยะลูกให้ห่างและใช้วิธี คุมกำเนิดแบบถาวร การทำหมันเป็นสิ่งแรกที่เราจะต้องคิดและตกลง กับสามี ภรรยา คิดร่วมกันไม่ใช่คนหนึ่งคนใดคิด หากเราไม่วางแผน เมื่อมีลูกแล้ว เราอาจจะไม่ได้ดูแลเขาอย่างเต็มที่ ชีวิตครอบครัวจะมีปัญหา ถ้าเราวางแผนครอบครัวไม่ดี เราอาจจะมีลูกมากเกินไป เราดูแลไม่เต็มที่ เราจะทำให้ครอบครัวมีความสุขได้อย่างไร หากไม่มีลูกหล่ะ ครอบครัวเราจะเป็นอย่างไร และหากมีลูกคนเดียว จะเพียงพอหรือไม่
ลูกเป็นของขวัญ ไม่ใช่เป็นภาระ หรือห่วงผูกคอ
บางคนมีลูกหัวปี ท้ายปี จนทำให้ไม่มีเวลาในการดูแลเขาได้อย่างดี และสร้างแรงกดดัน ให้กับครอบครัวมากเกินไปและไม่ควรจะปล่อยให้มีลูก โดยที่ เราไม่วางแผน เพราะบางครอบครัว เมื่อไม่วางแผน พอมีลูก อาจจะทำให้รู้สึกขมขื่นเวลาเลี้ยงลูก เพราะสภาพไม่พร้อม เช่น ภรรยาต้องทิ้งหน้าที่การงาน มาเลี้ยงลูก หรือ อายุยังน้อยไม่พร้อมจะเลี้ยงลูก ฯลฯ
แต่ละครอบครัวมีสิ่งที่เอื้ออำนวยเลี้ยงลูกไม่เท่าเทียมกัน ไม่ควรเปรียบเทียบกันกับครอบ ครัวอื่น
ความ จำกัด อาจจะทำให้เราเลี้ยงดูไม่ได้อย่างดีเพียงพอ เราจึงต้องวางแผน ไม่ใช่เลี้ยง ตามยถากรรม จะสร้างปัญหา ให้เกิดขึ้น ทั้งในครอบครัว สังคม ประเทศชาติ
ลูกเป็นของขวัญ ไม่ใช่เป็นภาระ หรือห่วงผูกคอ
บางคนมีลูกหัวปี ท้ายปี จนทำให้ไม่มีเวลาในการดูแลเขาได้อย่างดี และสร้างแรงกดดัน ให้กับครอบครัวมากเกินไปและไม่ควรจะปล่อยให้มีลูก โดยที่ เราไม่วางแผน เพราะบางครอบครัว เมื่อไม่วางแผน พอมีลูก อาจจะทำให้รู้สึกขมขื่นเวลาเลี้ยงลูก เพราะสภาพไม่พร้อม เช่น ภรรยาต้องทิ้งหน้าที่การงาน มาเลี้ยงลูก หรือ อายุยังน้อยไม่พร้อมจะเลี้ยงลูก ฯลฯ
แต่ละครอบครัวมีสิ่งที่เอื้ออำนวยเลี้ยงลูกไม่เท่าเทียมกัน ไม่ควรเปรียบเทียบกันกับครอบ ครัวอื่น
ความ จำกัด อาจจะทำให้เราเลี้ยงดูไม่ได้อย่างดีเพียงพอ เราจึงต้องวางแผน ไม่ใช่เลี้ยง ตามยถากรรม จะสร้างปัญหา ให้เกิดขึ้น ทั้งในครอบครัว สังคม ประเทศชาติ
ตัวอย่าง 4 จังหวะในการเต้นลีลาศที่ควรศึกษา
จังหวะในการเต้นลีลาศที่ควรศึกษา
จังหวะลีลาศทั้ง 4 จังหวะ ได้แก่ จังหวะบีกิน จังหวะชะช่ะช่า จังหวะวอทลซ์ และจังหวะรุมบ้า
ทั้ง4 จังหวะนี้เป็นพื้นฐานของการเต้นในจังหวะอื่นๆ ถ้าสามารถเต้น 4 จังหวะนี้ได้ก็สามารถเต้นจังหวะอื่นๆได้เช่นเดียวกัน
สามารถนำท่าเต้นลีลาศทั้ง 4 จังหวะนี้ไปใช้ในชีวิตประจำวันได้ เพราะการเข้าสังคมส่วนใหญ่ การเต้นลีลาศก็จะเป็นอีกหน
ทางหนึ่งในการเข้าสังคมได้อย่างมีน่ามีตา แล้วนอกจากนี้ยังทำให้เกิดความสนุกสนานในการเต้นอีกด้วย
อาหารหลัก 5 หมู่
หมู่ที่ 1 นม ไข่ เนื้อสัตว์ต่างๆ ถั่วเมล็ดแห้งและงา
- นม ไข่ เนื้อสัตว์ต่างๆ ถั่วเมล็ดแห้งและงา เป็นแหล่งโปรตีนที่ดี สามารถนำไปเสริมสร้าง ร่างกายให้เจริญเติบโตและซ่อมแซมเนื้อเยื่อ เสื่อมให้อยู่ในสภาพปกติ
- ในวัยเด็ก จำเป็นอย่างนิ่งที่ต้องได้รับโปรตีนในปริมาณที่เพียงพอ และมีคุณภาพที่ดี
- วัยผู้ใหญ่ ควรเลือกกินโปรตีนที่สามารถย่อยง่ายและมีไขมันต่ำ เช่น เนื้อปลาและเพื่อไม่ให้ ่เบื่ออาหาร ควรกินสลับกับถั่วเมล็ดแห้งบ้าง ทำให้เกิดความหลากหลายในชนิดอาหาร
หมู่ที่ 2 ข้าว แป้ง เผือก มัน น้ำตาล
- ข้าว แป้ง เผือก มัน น้ำตาล มีสารอาหารคาร์โบไฮเดรตเป็นแหล่งอาหารสำคัญที่ให้พลังงาน
- ข้าวกล้องและข้าวซ้อมมือมีใยอาหาร วิตามินและ แร่ธาตุ
- เพื่อให้ร่างกายได้ประโยชน์มากที่สุด ควรกินสลับกับผลิตภัณฑ์จากข้าวและธัญพืชอื่น ที่ให้พลังงานเช่นเดียวกับข้าว ได้แก่ ก๋วยเตี่ยว ขนมจีน บะหมี่ วุ้นเส้น หรือแป้งต่างๆ และไม่ควรกินมากเกินความต้องการเพราะอาหารประเภทนี้ จะถูกเปลี่ยนและเก็บสะสมไว้ในรูปของไขมันตามส่วนต่างๆ ของร่างกาย ทำให้เกิดโรคอ้วน
หมู่ที่ 3 ผักต่างๆ
- อาหารหมู่นี้ จะให้วิตามินและเกลือแร่แก่ร่างกายช่วยเสริมสร้างทำให้ร่างกายแข็งแรงมีแรง ต้านทานเชื้อโรคและช่วยให้อวัยวะต่างๆทำงานได้อย่างเป็นปกติ
- อาหารที่สำคัญของหมู่นี้ คือ ผักต่างๆ เช่น ตำลึง ผักบุ้ง ผักกาดและผักใบเขียวอื่นๆ นอกจากนั้นยังรวมถึง พืชผักอื่นๆ เช่น มะเขือ ฟักทอง ถั่วฝักยาว เป็นต้น
- นอกจากนั้น อาหารหมู่นี้จะมีกากอาหารที่ถูกขับถ่ายออกมาเป็นอุจจาระทำให้ลำไส้้ทำงานเป็นปกติ
หมู่ที่ 4 ผลไม้ต่างๆ
- ผลไม้ต่างๆ จะให้วิตามินและเกลือแร่ ช่วยทำให้ร่างกายแข็งแรง มีแรงต้านทานโรคและมีกากอาหารช่วยทำให้การขับถ่ายของลำไส้เป็นปกติ
- อาหารที่สำคํญ ได้แก่ ผลไม้ต่างๆ เช่น กล้วย มะละกอ ส้ม มังคุด ลำไย เป็นต้น
หมู่ที่ 5 ไขมันและน้ำมัน
- ไขมันและน้ำมัน จะให้สารอาหารประเภทไขมันมาก จะให้พลังงานแก่ร่างกาย ทำให้ร่างกายเจริญเติบโตร่างกายจะสะสมพลังงานที่ได้ไว้ใต้ผิวหนังตามส่วน ต่างๆ ของร่างกาย เช่น บริเวณสะโพก ต้นขา เป็นต้น
- ไขมันที่สะสมไว้เหล่านี้จะให้ความอบอุ่นแก่ร่างกายและให้พลังงานที่สะสมไว้ใช้ในเวลาที่จำเป็นระยะยาว อาหารที่สำคัญ ได้แก่
- ไขมันจากสัตว์ เช่น น้ำมันหมู รวมทั้้งไขมันที่แทรกอยู่ในเนื้อสัตว์ต่างๆด้วย
- ไขมันที่ได้จากพืช เข่น กะทิ น้ำมันรำ น้ำนมถั่วเหลือง น้ำมันปาล์ม เป็นต้น
15 ปัญหาวัยรุ่น
1.การใช้ความรุนแรง ความหมายของคำว่า Violence หรือ ความรุนแรง หมายถึง การกระทำที่มีหรือส่อว่ามี เจตนาที่จะกระทำให้บุคคลอื่นหรือกลุ่มบุคคลอื่นได้รับบาดเจ็บ การบาดเจ็บนี้อาจเนื่องมาจากการทำร้ายร่างกายและจิตใจ ตั้งแต่เล็กน้อยไปจนถึงขั้นเสียชีวิตได้ บทบาทของเด็กวัยรุ่นนั้นในความรุนแรงนั้น อาจจะเป็นทั้งผู้กระทำและถูกกระทำ ซึ่งขึ้นอยู่กับโอกาสปัจจัยสิ่งแวดล้อม ฯลฯ จากการศึกษาพบว่าเด็กวัยรุ่นจะตกเป็นผู้ถูกกระทำ(ถูกทำร้าย)เป็น 2 เท่าของผู้ใหญ่ และในปัจจุบันพบว่าเด็กที่ถูกทำร้ายและทำร้ายผู้อื่นจะมีอายุน้อยลงเรื่อยๆ และผู้ชายโดยทั่วไปแล้วจะเป็นทั้งผู้ทำร้ายและผู้ถูกทำร้ายสูงกว่าเด็กผู้หญิง ยกเว้นบางกรณีเรื่องทางเพศ กลุ่มเด็กผู้หญิงจะเป็นผู้ถูกกระทำสูงกว่าเพศชาย และที่น่าสนใจก็คือ เด็กที่ถูกทำร้ายคนที่เป็นผู้กระทำมักจะเป็นคนใกล้ชิดและมักจะเป็นคนในครอบครัว และสาเหตุการตายความรุนแรงในเด็กวัยรุ่นมักจะเป็นสาเหตุจากการใช้อาวุธปืนเป็นสาเหตุอันดับหนึ่ง
สุขบัญญัติ 10 ประการ
สุขบัญญัติ 10 ประการ
๑. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด
- อาบน้ำให้สะอาดทุกวัน อย่างน้อยวันละ ๑ ครั้ง
- สระผมอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง
- ตัดเล็บมือเล็บเท้าให้สั้นอยู่เสมอ
๒. รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี
- แปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง เวลาเช้า และก่อนนอน
- เลือกใช้ยาสีฟันและฟลูออไรด์
- หลีกเลี่ยงการกินลูกอม ลูกกวาด ท็อฟฟี่ หรือขนมหวานเหนียว
- เลือกซื้ออาหารสด สะอาด ปลอดสารพิษ โดยคำนึงถึงหลัก ๓ ป คือ ประโยชน์ ปลอดภัย ประหยัด
- ปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และใช้เครื่องปรุงรสที่ถูกต้อง โดยคำนึงถึงหลัก ๓ ส คือ สงวนคุณค่า สุกเสมอ สะอาดปลอดภัย
แบบฝึกการโหม่งบอล
2. รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
3. ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังขับถ่าย
4. กินอาหารสุกสะอาดปราศจากอันตรายและหลีกเลี่ยง อาหารรสจัดสีฉูดฉาด
5. งดบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติดการพนันและการสำส่อนทางเพศ
6. สร้างความสำพันธ์ภายในครอบครัวให้อบอุ่น
7. ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
8. ออกกำลังกายสมำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปี
9. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
10. มีสำนึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม
- อาบน้ำให้สะอาดทุกวัน อย่างน้อยวันละ ๑ ครั้ง
- สระผมอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๒ ครั้ง
- ตัดเล็บมือเล็บเท้าให้สั้นอยู่เสมอ
๒. รักษาฟันให้แข็งแรง และแปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี
- แปรงฟันทุกวันอย่างถูกวิธี อย่างน้อยวันละ ๒ ครั้ง เวลาเช้า และก่อนนอน
- เลือกใช้ยาสีฟันและฟลูออไรด์
- หลีกเลี่ยงการกินลูกอม ลูกกวาด ท็อฟฟี่ หรือขนมหวานเหนียว
๓. ล้างมือให้สะอาดก่อนรับประทานอาหารและหลังการขับถ่าย
- ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งก่อนและหลังการเตรียม ปรุง และรับประทานอาหาร
- ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งหลังการขับถ่าย
๔. กินอาหารสุก สะอาด ปราศจากสารอันตราย และหลีกเลี่ยงอาหารรสจัด สีฉูดฉาด- ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งก่อนและหลังการเตรียม ปรุง และรับประทานอาหาร
- ล้างมือด้วยสบู่ทุกครั้งหลังการขับถ่าย
- เลือกซื้ออาหารสด สะอาด ปลอดสารพิษ โดยคำนึงถึงหลัก ๓ ป คือ ประโยชน์ ปลอดภัย ประหยัด
- ปรุงอาหารที่ถูกสุขลักษณะ และใช้เครื่องปรุงรสที่ถูกต้อง โดยคำนึงถึงหลัก ๓ ส คือ สงวนคุณค่า สุกเสมอ สะอาดปลอดภัย
๕. งดสูบบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติด การพนัน และการสำส่อนทางเพศ
- งดสูบบุหรี่
- งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทุกชนิด
- ไม่เสพสารเสพย์ติดทุกประเภท
- งดเล่นการพนันทุกชนิด
- งดการสำส่อนทางเพศ
- งดสูบบุหรี่
- งดเครื่องดื่มที่มีแอลกอฮอล์ทุกชนิด
- ไม่เสพสารเสพย์ติดทุกประเภท
- งดเล่นการพนันทุกชนิด
- งดการสำส่อนทางเพศ
๖. สร้างความสัมพันธ์ในครอบครัวให้อบอุ่น
- ทุกคนในครอบครัว ช่วยกันทำงานบ้าน
- ปรึกษาหารือ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- เผื่อแผ่น้ำใจให้กันและกัน
- ทำบุญ และได้ทำกิจกรรมสนุกสนานร่วมกัน
- ทุกคนในครอบครัว ช่วยกันทำงานบ้าน
- ปรึกษาหารือ และแสดงความคิดเห็นร่วมกัน
- เผื่อแผ่น้ำใจให้กันและกัน
- ทำบุญ และได้ทำกิจกรรมสนุกสนานร่วมกัน
๗. ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
- ระมัดระวังในการป้องกันอุบัติภัยภายในบ้าน เช่น ไฟฟ้า เตาแก๊ส ของมีคม จุดธูปเทียนบูชาพระ และไม้ขีดไฟ เป็นต้น
- ระมัดระวังในการป้องกันอุบัติภัยในที่สาธารณะ เช่น ปฏิบัติตามกฏแห่งความปลอดภัยจากการจราจรทางบก ทางน้ำ ป้องกันอันตรายจากโรงฝึกงาน ห้องปฏิบัติการ เขตก่อสร้าง หลีกเลี่ยงการชุมนุมห้อมล้อม ในขณะเกิดอุบัติภัย
- ระมัดระวังในการป้องกันอุบัติภัยภายในบ้าน เช่น ไฟฟ้า เตาแก๊ส ของมีคม จุดธูปเทียนบูชาพระ และไม้ขีดไฟ เป็นต้น
- ระมัดระวังในการป้องกันอุบัติภัยในที่สาธารณะ เช่น ปฏิบัติตามกฏแห่งความปลอดภัยจากการจราจรทางบก ทางน้ำ ป้องกันอันตรายจากโรงฝึกงาน ห้องปฏิบัติการ เขตก่อสร้าง หลีกเลี่ยงการชุมนุมห้อมล้อม ในขณะเกิดอุบัติภัย
๘. ออกกำลังกายสม่ำเสมอ และตรวจสุขภาพประจำปี
- ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ ครั้ง
- ออกกำลังกายและเล่นกีฬาให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายและวัย
- ตรวจสุขภาพประจำปี
- ออกกำลังกายอย่างน้อยสัปดาห์ละ ๓ ครั้ง
- ออกกำลังกายและเล่นกีฬาให้เหมาะสมกับสภาพร่างกายและวัย
- ตรวจสุขภาพประจำปี
๙. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
- พักผ่อนและนอนหลับให้เพียงพอ
- จัดสิ่งแวดล้อมทั้งในบ้าน และที่ทำงานให้น่าอยู่ หรือน่าทำงาน
- มองโลกในแง่ดี ให้อภัย และยอมรับในข้อบกพร่องของคนอื่น
- เมื่อมีปัญหาไม่สบายใจ ควรหาทางผ่อนคลาย
- พักผ่อนและนอนหลับให้เพียงพอ
- จัดสิ่งแวดล้อมทั้งในบ้าน และที่ทำงานให้น่าอยู่ หรือน่าทำงาน
- มองโลกในแง่ดี ให้อภัย และยอมรับในข้อบกพร่องของคนอื่น
- เมื่อมีปัญหาไม่สบายใจ ควรหาทางผ่อนคลาย
๑๐. มีสำนึกต่อส่วนรวมร่วมสร้างสรรค์สังคม
- มีการกำจัดขยะในบ้าน และทิ้งขยะในที่รองรับ
- หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม เช่น โฟม พลาสติก สเปรย์ เป็นต้น
- มีและใช้ส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
- มีการกำจัดน้ำทิ้งในครัวเรือนและโรงเรียนด้วยวิธีที่ถูกต้อง
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
- อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม เช่น ชุมชน ป่า น้ำ และสัตว์ป่า เป็นต้น
- มีการกำจัดขยะในบ้าน และทิ้งขยะในที่รองรับ
- หลีกเลี่ยงการใช้วัสดุอุปกรณ์ที่ก่อให้เกิดมลภาวะต่อสิ่งแวดล้อม เช่น โฟม พลาสติก สเปรย์ เป็นต้น
- มีและใช้ส้วมที่ถูกสุขลักษณะ
- มีการกำจัดน้ำทิ้งในครัวเรือนและโรงเรียนด้วยวิธีที่ถูกต้อง
- ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
- อนุรักษ์และพัฒนาสิ่งแวดล้อม เช่น ชุมชน ป่า น้ำ และสัตว์ป่า เป็นต้น
กฏหมายคุ้มครองผู้บริโภค
กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภคของไทยในปัจจุบันมีจำนวนหลายฉบับ ซึ่งกฎหมายแต่ละฉบับมีอำนาจและหน้าที่ในการให้ความคุ้มครองผู้บริโภคที่แตก ต่างกัน โดยมีหน่วยงานราชการทำหน้าที่ในการบังคับใช้ให้เป็นไปตามกฎหมาย ซึ่งหน่วยงานราชการดังกล่าวกระจายอยู่ตามกระทรวงต่าง ๆ โดยสามารถแบ่งออกเป็น 2 ประเภทแบบฝึกการโหม่งบอล
แบบฝึกทักษะพื้นฐานการเล่นฟุตบอล
( 1 ) ชื่อเรื่อง การโหม่งลูกฟุตบอล
( 2 ) สาระสำคัญ การโหม่งลูกฟุตบอล เป็นทักษะหนึ่งในการเล่นฟุตบอล ซึ่งสามารถเป็นได้ทั้งการส่งลูก การหยุดลูก
การยิงประตู หรือสกัดกั้น โดยการกระโดดโหม่งกับฝ่ายตรงข้าม
( 3 ) วัตถุประสงค์ เพื่อให้นักเรียนรู้และสามารถโหม่งลูกฟุตบอลแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
( 4 ) เป้าหมาย นักเรียนทุกคนสามารถโหม่งลูกฟุตบอลแบบต่างๆ ได้อย่างถูกต้อง
( 5 ) การประเมินผลก่อนฝึก ทดสอบความสามารถปฏิบัติการโหม่งลูกฟุตบอลตกลงในวงกลมที่กำหนด
( 6 ) คำชี้แจง 1. ให้นักเรียนศึกษาใบความรู้เรื่อง การโหม่งลูกฟุตบอล
2. ครู นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปและสาธิตการโหม่งลูกฟุตบอลแบบต่างๆ
3. ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการโหม่งลูกฟุตบอล ตามลำดับขั้นตอน
2. ครู นักเรียนร่วมกันอภิปรายสรุปและสาธิตการโหม่งลูกฟุตบอลแบบต่างๆ
3. ให้นักเรียนฝึกปฏิบัติการโหม่งลูกฟุตบอล ตามลำดับขั้นตอน
สุขบัญญัติ 10 ประการ
สุขบัญญัติิ คือ ข้อกำหนดที่เด็กและเยาวชนตลอดจนประชาชน ทั่วไปพึงปฏิบัติอย่างสม่ำเสมอจนเป็นสุขนิสัยเพื่อให้มีสุขภาพดี ทั้งร่างกาย จิตใจ และสังคมดังนั้น การส่งเสริมสุขบัญญัติแห่งชาติ ิจึงเป็นกลวิธีหนึ่งในการสร้างเสริมและปลูกฝังพฤติกรรมสุขภาพ ที่พึงประสงค์ เพื่อให้เยาวชน และประชาชนปฏิบัติ..เพื่อนำไปสู่การมีสุขภาพดี 1. ดูแลรักษาร่างกายและของใช้ให้สะอาด2. รักษาฟันให้แข็งแรงและแปรงฟันทุกวันอย่างถูกต้อง
3. ล้างมือให้สะอาดก่อนกินอาหารและหลังขับถ่าย
4. กินอาหารสุกสะอาดปราศจากอันตรายและหลีกเลี่ยง อาหารรสจัดสีฉูดฉาด
5. งดบุหรี่ สุรา สารเสพย์ติดการพนันและการสำส่อนทางเพศ
6. สร้างความสำพันธ์ภายในครอบครัวให้อบอุ่น
7. ป้องกันอุบัติภัยด้วยการไม่ประมาท
8. ออกกำลังกายสมำเสมอและตรวจสุขภาพประจำปี
9. ทำจิตใจให้ร่าเริงแจ่มใสอยู่เสมอ
10. มีสำนึกต่อส่วนรวม ร่วมสร้างสรรค์สังคม
ไม่มีความคิดเห็น:
แสดงความคิดเห็น