วันพุธที่ 25 กรกฎาคม พ.ศ. 2561

รถไฟตอน1

รถจักรดีเซลไฟฟ้า เป็นรถจักรที่ใช้เครื่องยนต์ดีเซลเป็นต้นกำลัง โดยใช้กำลังจากเครื่องดีเซลไปหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้าประธาน แล้วนำกระแสไฟฟ้าที่ได้มาไปหมุนมอเตอร์ขับเคลื่อนรถจักรต่อไป ปัจจุบันการรถไฟไทยมีรถจักรดีเซลไฟฟ้าที่ใช้งานอยู่ 7 รุ่น
รถจักรดีเซลไฟฟ้า คือรถจักรที่ขับเคลื่อนด้วยมอเตอร์ไฟฟ้าที่มีต้นกำลังจากเครื่องยนต์ดีเซล โดยที่เครื่องยนต์ดีเซลจะหมุนเครื่องกำเนิดไฟฟ้า เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าไปจ่ายให้มอเตอร์ไฟฟ้าเพื่อทำขับเคลื่อนเพลาให้รถเคลื่อนที่ต่อไป ประเทศไทยเป็นประเทศแรกในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่นำรถจักรดีเซลไฟฟ้ามาใช้ในปี พ.ศ. 2471 (ค.ศ. 1928)

รายชื่อรถจักรในปัจจุบัน[แก้]

รหัสรุ่นผู้ผลิตเลขที่ผลิตเมื่อจำนวนคัน(แรงม้า)ความเร็วสูงสุด (กม./ ชม.)ภาพคำอธิบาย / หมายเหตุ
UM12C (GE)จีอี4001-4050พ.ศ. 2507(4001-4040)
พ.ศ. 2509(4041-4050)
501320
(2 × 660)
103Kanchanaburi Station.jpg• ได้รับการทาสีใหม่เมื่อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 โดยคันแรกที่ทาสีคือหมายเลข 4045
• ตัดบัญชี 5 คัน
• ระบบห้ามล้อแบ่งเป็น 3 ประเภท คือ ลมดูด ลมอัด ลมดูด/ลมอัด
• นำเข้าทั้งหมด 2 ชุด โดยชุดแรก (4001-4040) นำเข้ามาก่อน ส่วนชุดที่ 2 (4041-4050) นำเข้ามาเพื่อทดแทนรถจักรพลีมัทที่ได้มอบมาก่อนหน้านี้
AD24C (ALS)เอแอลเอส4101-4154พ.ศ. 2517 – พ.ศ. 251854225095ALS4121.jpg• ชุดแรกของรถจักร AD24C
• ได้รับการทาสีใหม่เมื่อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 โดยคันแรกที่ทาสีคือหมายเลข 4123
• ได้ดัดแปลงติดตั้งเครื่องยนต์ MTU หรือ Caterpillar เป็นบางคัน โดยคันแรกที่ติดตั้งคือหมายเลข 4140[1]
• ตัดบัญชี 8 คัน
AD24C (AHK)เอเอชเค4201-4230พ.ศ. 2523 – พ.ศ. 2524302250100AHK4226.JPG• ชุดที่ 2 ของรถจักร AD24C
•ผลิตร่วมกับบริษัท กรุปป์ และ เฮนเชล โดยทั้ง2บริษัทได้รับลิขสิทธิ์โครงประธานจากอัลสธอม
• ได้รับการทาสีใหม่เมื่อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 โดยคันแรกที่ทาสีคือหมายเลข 4205
• ได้ดัดแปลงติดตั้งเครื่องยนต์ MTU หรือ Caterpillar เป็นบางคัน โดยคันแรกที่ติดตั้งคือหมายเลข 4224
• ตัดบัญชี 2 คัน
AD24C (ALD)เอแอลดี4301-4309พ.ศ. 252692250100ALD4302.JPG• ชุดที่ 3 ของ AD24C
• ได้รับการทาสีใหม่เมื่อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 โดยคันแรกที่ทาสีคือหมายเลข 4305
• ได้ดัดแปลงติดตั้งเครื่องยนต์ Caterpillar เป็นบางคัน โดยคันแรกที่ติดตั้งคือหมายเลข 4306
• ตัดบัญชี 2 คัน
AD24C (ADD)เอดีดี4401-4420พ.ศ. 2528202250100ADD4401.jpg• ชุดสุดท้ายของ AD24C
• ได้รับการทาสีใหม่เมื่อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 โดยคันแรกที่ทาสีคือหมายเลข 4419
• ได้ดัดแปลงติดตั้งเครื่องยนต์ MTU หรือ Caterpillar เป็นบางคัน โดยคันแรกที่ติดตั้งคือหมายเลข 4404
• ตัดบัญชี 3 คัน
8FA-36C (HID)ฮิตะชิ4501-4522พ.ศ. 2536222860
(2 × 1430) =ก่อนลดสเตจเทอร์โบ 2500 (2*1250) =หลังลด
100HID4515.JPG• ใช้เครื่องยนต์ KTTA-50L ปัจจุบันได้ลดสเตจเทอร์โบลง ทำให้รหัสเครื่องยนต์เป็น KTA-50Lเหมือนจีอีเอ
• ได้รับการทาสีใหม่เมื่อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 โดยคันแรกที่ทาสีคือหมายเลข 4510
• ตัดบัญชี 1 คัน
CM22-7i (GEA)จีอีเอ4523-4560พ.ศ. 2538 – พ.ศ. 2539382500
(2 × 1250)
100GEA4539.JPG• ใช้เครื่องยนต์ KTA-50L
• ได้รับการทาสีใหม่เมื่อตั้งแต่ปี พ.ศ. 2553 โดยคันแรกที่ทาสีคือหมายเลข 4536
• ตัดบัญชี 2 คัน
CSR Qishuyan U20 (SDA3)ซีเอสอาร์ ชิซูเยี่ยน5101 - 5120พ.ศ. 2557 - พ.ศ. 2558203,800110SRT 5101 (5103 B W).jpg• ส่งมอบครบแล้ว20คัน คือหมายเลข 5101-5120
500 HP (Davenport)ดาเวนพอร์ต511-540พ.ศ. 2495(511-530)
พ.ศ. 2500(531-540)
30500
(1 × 500)
82P1015782w.jpg• ส่วนใหญ่ตัดบัญชีและนำตัวรถไปประมูลขายเรียบร้อยแล้ว
• บางส่วนรอซ่อมที่มักกะสัน
• ที่ใช้งานได้ในขณะนี้ มีจำนวน 4 คัน ได้แก่ หมายเลข 527, 530, 535, 540 (โดยทั้ง 4 คันนี้อยู่ที่ สถานีรถไฟพิษณุโลกสถานีรถไฟอุตรดิตถ์ สถานีรถไฟนครราชสีมา และสถานีรถไฟนครลำปาง ตามลำดับ)

อ้างอิง[แก้]

กองทัพไทย

ความขัดแย้ง กองทัพไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันได้มีความขัดแย้งมาตลอด ทั้งในระดับโลกและระดับภูมิภาค สงครามสยาม-ฝรั่งเศส  (1893) เกิดขึ้น...